ต่างชาติทึ่งอีสานไทย คนไทยทำได้ไง แบบนี้ใครจะสู้ได้ ชนบทไทยยังทำได้ขนาดนี้ ไทยคือสวรรค์การท่องเที่ยว

หลายๆคนคงจะเคยเห็นนะคะเวลานักท่องเที่ยว ต่างชาติมาเที่ยวเมืองไทยแล้วเขาเห็นรถแห
เนี่ยหลายๆคนถือว่าอดใจไม่ไหวค่ะจะต้องลง มาแจมโยกเอวซ้ายขวาโดยท่านผู้ชมทราบมั้คะ
ว่ามีฝรั่งหลายๆคนมาบอกว่าไทยแลนด์เนี่ย มีอะไรดีๆมากมายมาเที่ยวเมืองไทย 365 วัน
ก็ไม่พอเพราะว่าเมืองไทยนั้นครองใจนัก ท่องเที่ยวไปได้ทั่วโลกแล้วเวลาเห็นรถแห
กล่องยาวพิ่นซิ่งวัฒนธรรมไทยต่างๆตอนนี้ แนะนำให้เรียจดลิขสิทธิ์โดยด่วนเลยนะท่าน
ผู้ชมทราบมคะว่ารถแหนั้นถือเป็นสื่อการ แสดงพื้นบ้านที่เป็นการแสดงแบบวงดนตรีงาน
รื่นเริงที่อยู่บนรถบรรทุกที่สามารถ เคลื่อนที่แสดงตามพื้นที่ต่างๆแต่ว่าต้อง

มีการขออนุญาตจากหน่วยงานรัฐเพื่อทำการ แสดงซึ่งส่วนใหญ่มักจะพบเห็นรถแห่ได้ทั่ว
ไปในภาคอีสานโดยเฉพาะงานบุญงานประเพณี ต่างๆซึ่งรถแหจะมีลักษณะที่ผสมผสาน
ระหว่างหมอลำซิ่งคือด้านการแสดงดนตรีที่ เน้นความสนุกสนานรื่นเริงในรูปแบบทำนอง
สามช่าผสมกับรูปแบบการแหแบบขบวนดนตรีสด ที่เป็นขบวนแห่ดนตรีที่ใช้ประกอบงาน
ประเพณีต่างๆของภาคอีสานโดยมีพัฒนาการของ รถแห่ดนตรีสดที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 4
ยุคโดยยุคแรกถือว่าเป็นยุคดั้งเดิมเป็น ช่วงก่อนทศวรรษที่

 


2520 เป็นยุคที่นำเอาเครื่องดนตรีพื้น บ้านอีสานไม่ว่าจะเป็นกลองยาวพินแคนชิง
ฉาบมาแสดงในลักษณะขบวนแห่ซึ่งสามารถเรียก ได้หลายรูปแบบแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นการ
แห่กลองยาวการแห่พิณการแห่แคนซึ่งการแสดง ดนตรีทำนองพื้นบ้านเรียกว่าลายเช่นลาย
เต้ยลายรถพัดพร้าวหลายสรพันธ์ซึ่งการแสดง ดนตรีในยุคนี้เพียงดนตรีอย่างเดียวไม่ได้
มีคำร้องวัตถุประสงค์การแสดงนั้นเพื่อ ความสนุกสนานให้กับผู้ที่มาร่วมขบวนโดย
นิยมแสดงในประเพณีต่างๆที่จัดขึ้นในรอบ 12 เดือนหรือที่เรียกว่า 2 ถัดมาคือยุคผสมวง
เป็นช่วงประมาณทศวรรษที่ 2520 ซึ่งเป็นยุคที่นำเอาเครื่องดนตรี

พื้นบ้านมาผสมผสานกับเครื่องดนตรีสากลจน กลายเป็นวงที่ใหญ่ขึ้นไม่ว่าจะเป็นกีตาร์
เบสคีย์บอร์ดแต่ว่ายังคงเครื่องดนตรีพื้น บ้านอย่างเช่นพิ่นหรือว่าแคนเป็น
อัตลักษณ์ความเป็นอีสานเอาไว้และยังไม่มี คำร้องในการแสดงแบบเดียวกับยุคดั้งเดิม
โดยจะใช้รถเข็นรถบรรทุกเครื่องขยายเสียง เพื่อใช้แห่โดยลักษณะการบรรทุกเครื่อง
ดนตรีที่อยู่บนรถเข็นมักจะเรียกว่ารถยู้ว โดยการแสดงดนตรีนั้นยังคงเป็นดนตรีทำนอง
พื้นบ้านและนิยมแสดงในงานประเพณี 22 รวม ถึงเริ่มมีงานรื่นเริงของชุมชนและยุคที่ 3
เรียกว่ายุครถแหดนตรีจะเป็นช่วงประมาณ กลางทศวรรษที่

2530 ซึ่งในยุคนี้จะเริ่มมีการนำเอารถ บรรทุกขนาด 4 ล้อใช้บรรทุกทุกเครื่อง
เสียงเอาไว้บริเวณท้ายกระบะเรียกว่ารถแห ซาวดและก็มีการเชื่อมต่อระบบเข้ากับ
เครื่องเสียงที่ติดอยู่กับตัวรถซึ่งการ แสดงดนตรีในยุคนี้เริ่มจะมีการเปลี่ยน
แปลงจากยุคดั้งเดิมและยุคผสมวงโดยมีการ เปิดแผ่นเสียงที่มีทั้งดนตรีที่มีเนื้อ
ร้องแล้วก็ไม่มีเนื้อร้องแต่ถ้าหากเป็น การแสดงสดก็จะไม่มีเนื้อร้องนอกจากนี้ยัง
เริ่มมีการใช้ในกิจกรรมที่หลากหลายมาก ขึ้นไม่ว่าจะเป็นการแห่โฆษณาเพื่อ
ประชาสัมพันธ์และยุคที่ 4 ก็คือยุครถแห่ ดนตรีสดจะเป็นช่วงปลายทศวรรษที่

2550 ซึ่งเป็นยุคที่ได้นำเอารถแห่ดนตรี มาพัฒนาให้สามารถแสดงดนตรีและขับร้องสด
ได้บนรถซึ่งเป็นการบรรเลงดนตรีที่มีรูป แบบใหม่และแตกต่างไปจากเดิมมีการนำรถ
บรรทุกขนาดใหญ่มาบรรทุกเครื่องขยายเสียง ที่มีขนาดใหญ่เทียบเท่ากับตัวรถคล้ายกับ
เวทีหมอลำมีระบบเครื่องเสียงและอุปกรณ์ เครื่องดนตรีที่หลากหลายพร้อมกับระบบแสง
สีเสียงที่สามารถบรรเลงดนตรีได้เมื่อเวลา รถเคลื่อนที่ไปยังสถานที่ต่างๆในส่วนของ
การแสดงก็มีทั้งการบรรเลงดนตรีทำนองพื้น บ้านแลดนตรีที่มีคำร้องขณะเดียวกันการ
แสดงของรถแหดนตรีสดส่วนใหญ่ยังเป็นการ แสดงที่เกี่ยวข้องกับงานบุญประเพณีรวมถึง
งานเฉลิมฉลองต่างๆตามที่เจ้าภาพว่าจ้าง โดยพัฒนาการของรถแห่ในแต่ละยุคได้แสดงให้
เห็นถึงการปรับตัวของสื่อพื้นบ้านที่ก่อ ให้เกิดขึ้นเป็นรถแห่เริ่มจากยุคผสมวงที่

ขบวนแห่ดนตรีสดเป็นสื่อพื้นบ้านดั้งเดิม โดยมีการนำเอาเครื่องดนตรีสากลมาใช้แสดง
ร่วมกับเครื่องดนตรีท้องถิ่นรวมถึงมีการ นำเทคโนโลยีเครื่องเสียงมาใช้ก่อนจะพัฒนา
ก่อรูปขึ้นมาไปซื้อพื้นบ้านใหม่อย่างเช่น รถแหที่เป็นการแสดงดนตรีสดบนรถโดยมีความ
เป็นสากลความทันสมัยแต่ยังคงอัตลักษณ์ ความเป็นท้องถิ่นผ่านเนื้อหาเพลงและทำนอง
ดนตรีที่เป็นรูปแบบท้องถิ่นโดยลักษณะนี้ นับเป็นรูปแบบการปรับตัวรูปแบบหนึ่งผ่าน
การหยิบยืมเทคโนโลยีและวัฒนธรรมสากลมาผสม ผสานกับความเป็นท้องถิ่นเพื่อให้สามารถ
อยู่รอดและสืบทอดต่อไปได้โดยรูปแบบการ ปรับตัวของรถแหนั้นนับเป็นลักษณะของการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัฒน์และความ เป็นท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งโดยการนำเอ


วัฒนธรรมภายนอกมาผสมผสานกับความเป็นท้อง ถิ่นเพื่อให้วัฒนธรรมท้องถิ่นสามารถดำรง
ต่อไปได้ซึ่งจะมีความแตกต่างจากรูปแบบการ ครอบงำจากวัฒนธรรมภายนอกที่วัฒนธรรมท้อง
ถิ่นมักจะถูกทำให้เสื่อมถอยแล้วด้อย่าลง ดังที่เคยอธิบายเอาไว้เกี่ยวกับเพลงลูก
ทุ่งในประวัติศาสตร์วัฒนธรรมไทยว่าเพลง ลูกทุ่งมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างเมืองและ
ชนบทโดยเพลงลูกทุ่งเป็นสื่อวัฒนธรรมของคน เมืองที่เผยแพร่ความเป็นเมืองไปสู่ชนบท
แม้จะมีรูปแบบที่สะท้อนความเป็นท้องถิ่น แต่ว่าเพลงลูกทุ่งที่สามารถปรับตัวอยู่
รอดและเป็นที่นิยมทั้งในเมืองและชนบทจะ เป็นเพลงลูกทุ่งที่มีความเป็นเมืองและ

ความเป็นสากลมากกว่าความเป็นท้องถิ่นซึ่ง ลักษณะที่ความเป็นท้องถิ่นถูกครอบงามจาก
การปฏิสัมพันธ์กับสังคมโลกซึ่งรถแห่ก็มี ลักษณะของการเข้ามาของวัฒนธรรมภายนอกแต่
การปฏิสัมพันธ์ของรถแห่ไม่ได้เป็นฝ่ายถูก ครอบงำแต่อยู่ในรูปแบบของการผสมผสานเพื่อ
ให้ความเป็นท้องถิ่นสามารถดำรงต่อไปได้ ซึ่งจากการพัฒนาของรถแห่ดนตรีสดแสดงให้
เห็นว่ารถแห่เริ่มก่อรูปขึ้นมาเป็นรถแห่ ที่มีการแสดงดนตรีบนรถและเริ่มแพร่กระจาย
ในช่วงประมาณกลางทศวรรษที่ 2530 ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลจากรถ
แห่วงดาราทองมิวสิคซึ่งเป็นหนึ่งในวงรถ แห่ที่มีความเก่าแก่มากที่สุดที่มีจุด

เริ่มต้นในช่วงประมาณปีพุทธศักราช 2540 โดยรถแห่วงนี้เริ่มจากการนำรถกระบะ
มาใส่เครื่องเสียงที่หลังรถโดยช่วงแรกยัง ไม่มีนักร้องและนักดนตรีและค่อยๆพัฒนามา
เป็นรถบรรทุกที่ติดตั้งไฟและเครื่องเสียง มีนักร้องนักดนตรีแบบเดียวกับเวที
คอนเสิร์ตและมีการแสดงที่ใช้เพลงที่มี เนื้อหาแบบหมอลำซิ่งแต่ว่ารถแห่จะไม่ใช้
เครื่องดนตรีอีสานแต่ใช้เครื่องดนตรีสากล ในการแสดงทั้งหมดซึ่งจะเห็นได้ว่าลักษณะ
ของรถแหในยุคแรกเริ่มจะมีเฉพาะนักดนตรี เท่านั้นยังไม่มีนักร้องโดยเครื่องดนตรี
ที่ใช้จะมีทั้งดนตรีพื้นบ้านอีสานไม่ว่า จะเป็นแคนหรือพิณผสมผสานกับเครื่องดนตรี
สากลเช่นกีต้าไฟฟ้ากลองชุดส่วนดนตรีก็จะ เป็นรูปแบบสามช่าคล้ายกับหมอลำเนื่องจาก
เป็นสิ่งที่ได้รับอิทธิพลมาจากการแสดงหมอ ลำและขบวนแห่ดนตรีสดและรถที่จะนำมาใช้
ส่วนใหญ่ก็จะเป็นรถบรรทุกขนาดเล็กหรือที่ เรียกกันว่ารถอีแตนซึ่งจะเป็นรถที่ใช้ใน

การเกษตรและนำมาใช้ขนเครื่องดนตรีโดย ลักษณะการมีส่วนร่วมจะเป็นแบบโยกตัวรำ
ธรรมดาเหมือนกับการรำหรือว่าฟ้อนเซื้อใน ประเพณีพิธีกรรมต่างๆแต่สำหรับรถแห่ใน
ช่วงปลายทศวรรษที่ 2550 เป็นต้นไปจะมี ความแตกต่างจากเดิมอย่างสิ้นเชิงโดยมีการ
ดัดแปลงบรรทุกต่อเติมโครงสร้างบางส่วน เพื่อให้สามารถบรรทุกเครื่องเสียงนักร้อง
นักดนตรีและมีการติดตั้งเครื่องเสียงและ ก็ไฟแบบเดียวกับเวทีคอนเสิร์ตใช้หม้อแปลง
ไฟฟ้าขนาดใหญ่ติดที่ตัวรถเพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้าและจะมีการเพรสีที่ฉูดฉาดเป็น
เอกลักษณ์ทำให้รถแห่แต่ละคันมีการลงทุน ค่อนข้างสูงไม่ว่าจะเป็นการติดตั้ง

เครื่องเสียงโดยรถแห่คันนึงจะใช้งบประมาณ ลงทุนประมาณคันละ 1 ล้านถึง 4 ล้านบาท
ซึ่งรถแหจะสามารถเคลื่อนที่ไปตามสถานที่ ต่างๆตามที่ผู้ว่าจ้างต้องการจะได้และ
ส่วนใหญ่มักจะจ้างรถแหกไปแสดงตามงานบุญ งานประเพณีต่างๆเพื่อสร้างความรื่นเริง
ภายในงานให้กับบรรดาผู้เข้าร่วมซึ่งใน อดีตนั้นเจ้าภาพที่จัดงานมักจะจ้างวงกลอง
ยาวและหมอลำซิ่งแต่ว่าปัจจุบันถูกแทนที่ ด้วยรถแห่เนื่องจากมีความสะดวกกว่าและ
สามารถเคลื่อนที่ไปยังสถานที่ต่างๆได้ดี แล้วก็ไม่ต้องใช้เวลาเตรียมการเยอะและยัง
มีเทคโนโลยีเครื่องเสียงที่มีศักยภาพและ ดนตรีแบบเดียวกับหมอลำซิ่งซึ่งเป็นสื่อ
บันเทิงที่ได้รับความนิยมอันดับต้นๆของ อีสานโดยรถแหกเกือบทุกวงจะไม่มีการใช้
เครื่องดนตรีอีสานแต่ว่าจะใช้เครื่อง ดนตรีสากลในการแสดงไม่ว่าจะเป็นคีย์บอร์ด
กีตาร์เบสกล่องชุดและเพลงที่รถแห่แสดงจะ มีทั้งเพลงหมอลำซิ่งเพลงที่กำลังฮิตและ
เพลงที่ได้รับความนิยมรวมทั้งเพลงสากลที่ มีเนื้อร้องเป็นภาษาต่างประเทศซึ่งจะมี
การดัดแปลงทำนองเป็นรูปแบบสามช่าคล้ายๆ กับหมอลำซิ่งที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของ
สื่อพื้นบ้านที่มีการผสมผสานกับความเป็น สากลได้เป็นอย่างดี

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *