ลาวขอไทยช่วยรับเงินกีบเพราะตอนนี้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศค่าเงินอ่อนมาก

หลังจากก่อนหน้านี้เคยมีสาวลาวมาขอแลก เงินบาทในประเทศไทยแต่ว่าธนาคารไม่รับแลก
โดยมีข่าวว่าคนลาวนั้นดีใจกันยกใหญ่เมื่อ ธนาคารของไทยได้มีการนำร่องในการเปิดระบบ
ในการรับชำระเงินกีบระหว่างไทยและลาวซึ่ง สถานการณ์ล่าสุดอัตราแลกเปลี่ยนของเงิน
กีบนั้นก็ได้ร่วงลงอย่างต่อเนื่องค่ะโดยณ วันที่ 12 มิถุนายนเงินบาท 1 บาทจะต้อง
ใช้เงินกรีบ 6699 และนอกจากนี้ก็ได้มีการเปิดเผยตัว
เลขที่น่าใจหายค่ะโดยเมื่อช่วงเดือน เมษายนที่ผ่านมาสปปลาวมีการขาดดุลการค้า

ถึง 198 ล้านดอลลาร์โดยทางด้านสื่อดังของ ลาวสำนักพิมพ์ลาวพัฒนาได้มีการเปิดเผยข้อ
มูลรายงานการค้าว่ามูลค่าการนำเข้าและส่ง ออกสินค้าของาวในเดือนเมษายนปี
2024 เปรียบเทียบกับเดือนมีนาคมเมื่อปี ที่แล้วลดลงประมาณ 13% ซึ่งประเทศคู่ค้า
หลักที่มีปริมาณการส่งออกมากที่สุดก็คือ เวียดนามจีนไทยออสเตรเลียและ
สวิตเซอร์แลนด์ส่วนประเทศที่ลาวนั้นนำ เข้าสินค้าสูงที่สุด 5 อันดับแรกก็คือไทย
จีนเวียดนามสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐ เกาหลีโดยมีคนลาวหลายคนเข้ามาร่วมแสดง
ความคิดเห็นนะคะบอกว่าอัตราแลกเปลี่ยนที่ เป็นแบบเนี้ยสงสัยในอนาคตจะต้องขึ้น
สวรรค์แล้วล่ะมั้งบางคอมเมนต์ก็บอกว่า เจ้านนายของเราดีแล้วก็น่ารักมากครอบครัว
ก็เลยดีแบบนี้แหละบางคอมเมนต์ก็บอกว่า ท่านนายกบอกว่าลาวตอนนี้เศรษฐกิจดีอยากจะ

รู้จังเลยว่าไปเอาตัวเลขที่ไหนมารายงาน และคนลาวบางคนก็มาคอมเมนต์นะคะบอกหน่อย
ว่าทำไมในความเป็นจริงอัตราแลกเปลี่ยนไม่ ได้เป็นไปตามที่ธนาคารระบุเลยบางคอมเมนต์
ก็บอกว่าจะบอกมาทำไมว่าอัตราแลกเปลี่ยน เป็นเท่าไหร่ในเมื่อความจริงเวลาไปแลก
เงินขอไปสกุลเงินอื่นก็ไม่ได้เป็นตามที่ ธนาคารแจ้งมาเลยควรจะมีการตอบสนองสังคม
เวลาต้องการเงินสกุลอื่นให้ดีกว่านี้ซึ่ง หลายๆคอมเมนต์นะคะคนลาวก็เข้ามาบอกว่า
เสียใจเลยเจอแบบนี้แล้วแย่เลยซึ่งในกระแส ก่อนหน้านี้ที่มีข่าวเกี่ยวกับประเทศไทย
และประเทศลาวในส่วนของการแลกเปลี่ยนเงิน ตราต่างประเทศที่คนลาวหลายๆคนอยากจะได้
เงินบาทไทยมาใช้และคนลาวที่นำเงินกี่มา ใช้จ่ายในประเทศไทยก็ไม่สามารถใช้ได้โดย
ล่าสุดค่ะทางด้านธนาคารกสิกรไทยได้มีการ นำร่องเปิดระบบรับชำระเงินผ่าน QR
ระหว่างประเทศไทยและสปปลาวทำให้ปัจจุบัน มีนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ใช้ Mobile
Banking สแกนไทย QR แล้วจ่ายได้รวมถึง 7 แห่งได้แก่มาเลเซียฮ่องกงอินโดนีเซีย

สิงคโปร์กัมพูชาเวียดนามและประเทศล่าสุด ก็คือสปปลาวโดยจะมีแผนการขยายการเชื่อม
ต่อระบบการชำระเงินกับประเทศอินเดียภายใน ปลายปีนี้โดยตั้งเป้าว่าจะมีการใช้บริการ
รับชำระเงินผ่านคอโดระหว่างประเทศในปี 2567 เติบโตประมาณ 30% รองรับการท่อง
เที่ยวของประเทศไทยซึ่งคาดว่าต่างชาติจะ แห่เข้ามาเที่ยวในประเทศไทยมากกว่า 36
ล้านคนซึ่งทางด้านธนาคารกสิกรไทยก็ได้มี การพัฒนาในการเชื่อมต่อระบบการชำระเงิน
ระหว่างประเทศโดยทำหน้าที่เป็นธนาคารที่ ที่รับผิดชอบการชำระดุลสำหรับธุรกรรม
ระหว่างประเทศหรือ settlement Bank ใน การให้บริการรับชำระเงินผ่าน QR ระหว่าง
ประเทศไทยและสปปลาวหรือ Cross Border QR payment โดยเป็นโครงการภายใต้ความร่วม
มือของธนาคารแห่งประเทศไทยและธนาคารแห่ง สปปลาวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเติมเต็ม
โครงสร้างพื้นฐานทางการเงินระหว่างประเทศ ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้ง ecosystem
ภายใต้มาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งภูมิภาคและ บริการนี้ยังจะช่วยอำนวยความสะดวกและ
สร้างประสบการณ์ที่ดีรวมถึงลดต้นทุนทาง การเงินระหว่างประเทศโดยธนาคากสิกรไทย
ตั้งเป้าหมายปริมาณธุรกรรมรับชำระเงิน ผ่าน QR ระหว่างประเทศหลังจากเปิดให้
บริการกับนักท่องเที่ยวสปปลาวซึ่งคาดว่า จะเติบโตขึ้นประมาณ 30% จากปีที่แล้วนอก
จากนี้ยังมีแผนการขยายการเชื่อมต่อระบบ ชำระเงินผ่าน QR กับประเทศอินเดียภายในปี
นี้อีกด้วยซึ่งในปี 2567 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้มีการคาด

 

การณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดิน ทางเข้ามาเที่ยวในเมืองไทยมากกว่า 36
ล้านคนเพราะฉะนั้นก็เลยเป็นโอกาสในการทำ ธุรกิจและสร้างรายได้เพิ่มรับการฟื้นตัว
ของการท่องเที่ยวไทยซึ่งจะเป็นการรับชำระ ค่าสินค้าและบริการจากนักท่องเที่ยวต่าง
ชาติโดยร้านค้าของธนาคารสามารถใช้ QR ใน แอปพลิเคชัน K Shop และ QR บนเครื่องรูด
บัตรกสิกรไทยในการรับชำระเงินโดยสามารถ รับชำระเงินได้จากนักท่องเที่ยวรวมถึง 7
แห่งคือมาเลเซียฮ่องกงอินโดนีเซีย สิงคโปร์เวียดนามกัมพูชาและสปปลาวเพราะ
ฉะนั้นโดยเฉพาะคนลาวที่มาเมืองไทยในอนาคต อันใกล้ก็ไม่จำเป็นต้องแลกเงินหรือว่าพก
เงินสดจำนวนมากเพียงแค่มี Mile Banking ในประเทศตัวเองส่วนร้านค้าในประเทศไทยก็
สามารถรับชำระได้อย่างไม่ยุ่งยากซึ่ง สามารถให้ลูกค้าต่างชาติใช้ Mobile


Banking สแกน QR เพื่อจ่ายเงินเหมือนกับ ที่รับชำระเงินจากคนไทยซึ่งร้านค้าก็จะ
ได้รับเงินค่าสินค้าและบริการเป็นเงินบาท ตามราคาของสินค้าและบริการเพราะฉะนั้นจึง
ตัดความกังวลในเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยน รวมถึงไม่เสียค่าธรรมเนียมและร้านค้า K
shop ก็จะสามารถใช้ฟีเจอร์ในการแจ้งยอด เงินเข้าทำให้ทราบยอดเงินเข้าออกได้สะดวก
และรวดเร็วซึ่งมีคนลาวหลายคนมาร่วมแสดง ความคิดเห็นนะคะบอกว่ายิ่งเป็นแบบนี้ยิ่ง
ดีได้ข่าวว่าตอนนี้เศรษฐกิจลาวกำลังดี ขึ้นคนลาวก็เลยมีเงินใช้จ่ายเยอะแยะ
สามารถไปซื้อของในเมืองไทยได้สะดวกบาง คอมเมนต์ก็บอกว่าลาเปิดประเทศตอนนี้เงิน
กีบก็ก้าวกระโดดทันทีเห็นว่าธนาคารลาวมี การประชุมและเปลี่ยนแปลงนโยบายอย่างต่อ
เนื่องแต่ไม่รู้ว่าจะประชุมไปเพื่ออะไร บางคอมเมนต์ก็บอกว่าตอนนี้เงินกลีบจะเป็น

ช่วงขาขึ้นแล้วเพราะว่าสินค้าในอนาคตต่อ ไปจะสามารถซื้อสินค้าไทยโดยที่ไม่ต้องแลก
เป็นเงินกีบแล้วบางคอมเมนต์ก็บอกว่ายัง แลกเงินได้อยู่หรือเปล่าถ้าแลกได้เมื่อ
ไหร่แล้วก็ช่วยบอกด้วยเพราะว่าอัตราแลก เปลี่ยนที่บอกทุกวันนี้ถ้าเกิดไปแลกจริงๆ
ก็ไม่ได้เป็นตามที่แจ้งออกมาเลยบาง คอมเมนต์ก็บอกว่าในหลักเนี่ยใครเก่ง
เศรษฐศาสตร์ช่วยวิเคราะห์เศรษฐกิจในอนาคต ของสปปลาวหน่อยว่าจะไปต่อหรือว่าพอแค่นี้
พัฒนามาเรื่อยๆแต่ไม่รู้จะพัฒนาไปยังไง ทำไมในปัจจุบันค่าเงินกลีบถึงได้อ่อนลง
ตลอดเวลาบางคอมเมนต์ก็บอกค่ะว่าถึงเมือง ไทยเขาจะรับชำระเงินโดยที่ไม่ต้องแลกเงิน
กีบไปหรือว่าพูดง่ายๆที่บอกว่าชำระเงิน ได้โดยการสแกน QR ดแต่ว่าอัตราแลกเปลี่ยน
ของเงินกลีบลาวที่ยังคงอ่อนลงเรื่อยๆก็ก็ ไม่มีผลดีอยู่ดีเพราะยังไงก็ต้องซื้อ

สินค้าไทยในราคาที่เป็นตามอัตราแลก เปลี่ยนบางคอมเมนต์ค่ะคนลวก็บอกว่าตอนนี้
เห็นนายกออกข่าวมาตลอดบอกว่าช่วงนี้เงิน กีบนั้นแข็งขึ้นเรื่อยๆเพราะฉะนั้นคนลวจะ
ต้องรู้จักประหยัดเห็นแล้วตกใจเลยตอนนี้ อัตราแลกเปลี่ยนของค่าเงินกีบเปลี่ยนแปลง
ไปจากเมื่อก่อนเยอะมากบางคอมเมนต์ก็บอก ว่าช่วยถามหน่อยว่าใครเป็นคนเพิ่มอัตรา
แลกเปลี่ยนทำไมเงินกลีบถึงเป็นแบบนี้ควร จะต้องออกมามีการชี้แจงได้แล้วบาง

คอมเมนต์ค่ะคนลาวก็ออกมาบอกว่าไม่ต้อง กลัวไปหรอกรัฐบาลลาวเพิ่งออกมาบอกว่าตัว
เลข GDP ในช่วง 6 เดือนแรกขยายตัวตั้ง 4.7 per แค่ประกาศข่าวว่าขาดดุลการค้าในช่วง
เดือนเมษายนแค่เดือนเดียวคงจะไม่กระทบกับ เศรษฐกิจของสปปลาวมากเท่าไหร่คนลาวบางคน
ก็คอมเมนต์นะคะบอกว่าตอนเนี้ย 700 กีบยัง แลก 1 บาทไม่ได้เลยบางคอมเมนต์ก็บอกว่า
ฉันแน่ใจนะว่าในายอนาคตเนี่ยเงินกลีบกว่า จะแลกเงินบาทได้คงจะพุ่งไปถึง 850 แล้ว
แหละคอยดูะกัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *