ก่อนหน้าที่พระองค์จะกลายมาเป็นมหาราชผู้ทรงธรรม ทว่าอีกแง่มุมหนึ่งของพระองค์นั้น ช่างโหดร้ายยิ่งนัก และวันนี้เราจะมาตีแผ่ชีวิตของพระเจ้าอโศกกันครับ
———————————————————-
ข้อมูลอ้างอิง
.
หนังสือ
ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศก และอโศกาวทาน. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (ส.ศิวรักษ์).
พระพรหมคุณาภรณ์.(2552). จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห์) รัฐศาสตร์แห่งธรรมาธิปไตย.
สมุทรปราการ: ผลิธัมม์.
พระธรรมปิฎก. (2540). จารึกอโศก. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
สิริวัฒน์ คําวันสา. (2545). พุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ พิทักษ์อักษร.
วสิน อินทรสระ. จอมจักรพรรดิอโศก. สำนักพิมพ์บรรณาคาร.
แสง มณวิทูร (แปล). ชินกาลมาลีปกรณ์.
Nayanjot Lahiri. Ashoka in Ancient India. harvard university press Cambridge, Massachusetts London, England. 2015.
.
บทความ
มูลเหตุแห่งการเปลี่ยนพระราชหฤทัยของพระเจ้าอโศกมหาราช สู่การปกครองที่ทรงธรรม. ชูชิต ชายทวีป. วารสารวชาการ มหาวทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปีที 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนวาคม 2558.
พระเจ้าอโศกกับพระพุทธศาสนาในอินเดีย. อ.อาบูกาบาร์.
โศกมหาราช: ความจริง มายาคติ จากคัมภีร์ และจารึก. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. วารสารพุทธศาสนาศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2562.