ประเทศไทยจัดเต็มเทศกาลมหามงคลเดือนเมษายน งานประเพณีอัญเชิญหลวงพ่อโสธรขึ้นจากแม่น้ำบางปะกง

ในช่วงเดือนเมษายนหลังจากเทศกาลสงกรานต์ ยังมีประเพณีสุดยิ่งใหญ่นั่นก็คือประเพณี
อัญเชิญหลวงพ่อโสธรขึ้นจากแม่น้ำบางปะกง ที่เป็นตำนานกว่า 2554 ปีโดยที่บริเวณท่า
น้ำวัดโสธรวรารามวรวิหารพระอารามหลวง อำเภอเมืองจังหวัดฉะเชิงเทราผู้ว่าราชการ
จังหวัดฉะเชิงเทราได้เป็นประธานในพิธี อัญเชิญหลวงพ่อพุทธโสธรขึ้นจากแม่นา
บางปะกงเป็นปีที่ 254 โดยมีพระเทพภาวนาวชิรคุณเจ้าอาวาส
วัดโสธรวรารามวรวิหารเจ้าคณะจังหวัด ฉะเชิงเทราเป็นประธานพิธีฝ่ายสงฆ์พร้อม
ด้วยพระเถรานุเถระและประชาชนชาวแปดริ้ว เข้าร่วมในพิธีนับหมื่นคนโดยในพิธีได้มี
การแสดงเหตุการณ์จำลองย้อนอดีตในการ อัญเชิญหลวงพ่อพุทธโสธรขึ้นจากแม่น้ำ
บางปะกงและยังเป็นการย้อนรำลึกถึงประวัติ ความเป็นมาของหลวงพ่อโสธรและได้มีการจัด
ขบวนแห่องค์หลวงพ่อพุทธโสธรเข้าไปยังพระ อุโบสถอย่างยิ่งใหญ่โดยมีประชาชนชาวแปด
ริ้วและผู้ที่เลื่อมใสศรัทธามาเข้าแถวร สักการะองค์หลวงพ่อพุทธโสธรและร่วมขบวน
แหกกันอย่างเนืองแน่นโดยตามโพสต์ในสื่อ โซเชียลนะคะก็มีหลายๆคนแห่กันมากล่าวสาธุ
และโดยส่วนตัวนะคะพอดีว่ามีเพื่อนเป็นคน ญี่ปุ่นเคยพาไปสักการะหลวงพ่อโสธรเขาบอก
ว่าตกใจมากทำไมถึงมีคนมาสักการะหลวงพ่อ มากมายขนาดนี้ก็เลยเล่าให้เพื่อนฟังนะคะ
ว่าหลวงพ่อโสธรนี่แหละคนไทยนับถือกันว่า ศักดิ์สิทธิ์มากๆแล้วโดยวันนี้นะคะจะพา
ท่านผู้ชมมาย้อนรอยประวัติศาสตร์องค์หลวง พ่อโสธรโดยว่ากันว่าในอดีตนั้นไม่ได้มี
หลักฐานที่ชัดเจนมีเพียงตำนานที่ได้รับ การเล่าขาสืบต่อกันมาว่ามีพระภิกษุ 3 พี่

 


น้องที่ได้ศึกษาธรรมะแตกช้าได้จำแลงกาย เป็นองค์พระพุทธรูปและอยู่มาวันหนึ่งชาว
บ้านได้เห็นองค์พระพุทธรูปลอยมาตามลำน้ำ บางปะกงจึงนำเชือกมาผูกเพื่อฉุดขึ้นจากลำ
น้ำแต่ว่าเชือกกลับขาดองค์พระค่อยๆจมหาย ทวนกระแสน้ำโดยมีการเรียกขานกันว่าสพระ
ทวนต่อมาก็เพี้ยนเป็นสัมปทวนอำเภอเมือง ฉะเชิงเทราจวบมาจนถึงปัจจุบันนี้และต่อมา
องค์พระก็ได้ปรากฏขึ้นหน้าวัดโสธรวราราม วรวิหารชาวบ้านก็เลยหลัไหลไปช่วยกันฉุด
ขึ้นฝั่งแต่กลับไม่สำเร็จค่ะในขณะนั้นก็ มีผู้ทรงคุณวิเศษแนะนำว่าให้ทำพิธีปลูก
สารเพียงตาเพื่อบ่วงสรวงและกล่าวอัญเชิญ ชุมนุมเทวดาอาราธนาใช้สายศีลผูกคลองที่
พระหัตถ์ขององค์พระพุทธรูปจากนั้นฉุดลาก ขึ้นมาบนฝั่งจนสำเร็จเมื่อพระพุทธรูปขึ้น
มาบนฝั่งแล้วชาวบ้านก็พร้อมใจกันอัญเชิญ ไปประดิษฐานที่พระวิหารวัดโสธรพร้อมเรียก
ขนานนามว่าพระพุทธโสธรนับตั้งแต่บัดนั้น และยังมีตำนานเล่ากันว่าหลวงพ่อโสธร
ประดิษฐานอยู่ที่วัดโสธรมาตั้งแต่สมัย รัชกาลพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือเจ้า
สามพระยาในช่วงต้นกรุงศรีอยุธยาที่ประกอบ ขึ้นจากหินทรายสมัยอยุธยาตอนต้นประทับ
อยู่บนบัลลังก์ 4 ชั้นปู่พืด้วยผ้าทิพย์ ที่นิยมกันมากในสมัยนั้นและมีพระพุทธรูป
ที่เป็นบริวารล้อมรอบซึ่งความ ศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อโสธรเชื่อกันว่าจะ

ช่วยในเรื่องของการค้าขายและความเจริญ รุ่งเรืองโดยชาวเรือนั้นให้ความนับถือกัน
มากบอกต่อๆกันว่าถ้าได้ขอพรหลวงพ่อโสธรก็ จะสัมฤทธิ์ผลสินค้าซื้อขายง่ายคล่องการ
ค้าก็จะดีเรือแผ่ชาวบ้านที่ผ่านไปผ่านมา พอถึงจุดตรงกับโบทหลวงพ่อโสธรชาวบ้านที่
ให้ความนับถือก็จะตักเอาน้ำจากแม่น้ำขึ้น มาดื่มเพราะเชื่อว่าเป็นน้ำมนต์จากหลวง
พ่อโสธรหรือว่าตักล้างหน้าลูบศีรษะประพรม สินค้าในเรือเพื่อเสริมมงคลให้กับตัวเอง
แลก็การค้าขายและหลังจากการคมนาคมสะดวก ขึ้นผู้คนก็ได้เริ่มไปนมัสการหลวงพ่อโสธร
มากขึ้นคนที่เจ็บป่วยและสุขภาพไม่ค่อยดี ก็พากันมาขอพรจากหลวงพ่อแล้วก็ได้สม
ปรารถนาจนมีผู้นับถือสืบต่อกันมาจนถึง ปัจจุบันโดยทุกวันนี้มักจะมีผู้ศรัทธา
นิยมนำไข่ต้มมาถวายเพื่อแก้บ่นเป็นจำนวน มากโดยการบูรณะองค์หลวงพ่อโสธรครั้งล่า
สุดได้มีพิธีสมโภชครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 2 ถึงวันที่ 6 เมษายนปี

2566 ซึ่งเป็นการสมโภช 253 ปีองค์หลวง พ่อโสธรที่มีความพิเศษในการอัญเชิญหลวง
พ่อขึ้นจากแม่น้ำบางปะกงเป็นประเพณีโบราณ ที่ทำติดต่อกันมาทุกปีซึ่งโดยปกติจะมีผู้
มีจิตศรัทธารอคอยพิธีกรรมนี้เป็นจำนวนมาก เพราะเชื่อว่าคนที่ร่วมขบวนแห่จะได้พบกับ
ความสำเร็จโดยสำหรับปี 2567 นี้ขบวนแห่ และงานประจำปีหลวงพ่อโสธรมีความพิเศษใน
การร่วมกันสมโพชหลังการซ่อมแซมองค์หลวง พ่อเสร็จสิ้นถือว่าเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่
กราบไหว้และสำหรับพิธีอัญเชิญหลวงพ่อ พุทธโสธรขึ้นจากแม่น้ำบางปะกงเป็นประเพณี
ที่กระทำสืบเนื่องมาช้านานโดยนิยมจัดงาน ขึ้นตรงกับวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 5 ของทุกๆ
ปีโดยจะมีการสมโพชหลวงพ่อโสธรลอยน้ำมา ผ่านท่าน้ำวัดโสธรวรารามวรวิหารโดยจะมี
ชาวบ้านช่วยกันใช้เชือกผูกเพื่อดึงองค์ พระขึ้นมาจากแม่น้ำแต่เมื่อครั้งในอดีต
ไม่สามารถดึงขึ้นมาได้จนต้องไปสอบถามผู้ รู้และจัดทำพิธีบวงสรวงนำทายสิสคล้องพระ
หัตถ์เพื่ออัญเชิญหลวงพ่อพระพุทธโสธรขึ้น จากน้ำและอัญเชิญมาประดิษฐานณวัด
โสธรวรารามวรวิหารนับเป็นเวลา 254 ปีล่วง มาแล้วและด้วยความศักดิ์สิทธิ์และอานุภาพ
ของหลวงพ่อโสธรทำให้ประชาชนทั่วทุกสารทิศ เลื่อมใสศรัทธาและนิยมเดินทางมากราบ
นมัสการหลวงพ่อพระพุทธโสธรอยู่เป็นประจำ นับเป็นพระศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง
ที่ทำให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นที่รู้จัก กันดีทั่วประเทศไทยและเมื่อองค์หลวงพ่อ
พระพุทธโสธรเข้าสู่พระอุโบสถแล้วพระสงฆ์ ทรงสมณศักดิ์จำนวน 100 รูปเจริญพระ
พุทธมนต์ธรรมจักกัปปวัตนสูตรเป็นอันเสร็จ สิ้นพิธีนอกจากนี้ในช่วงเย็นวันเดียวกัน
ที่บริเวณภายนอกพระอุโบสถก็จะมีประชาชน ชาวจังหวัดฉะเชิงเทราและผู้ที่ศรัทธาใน
องค์หลวงพ่อพุทธโสธรมาร่วมพิธีรำถวายบูชา หลวงพ่อโสธรจำนวนมากกว่า 2,700 คนอีกด้วย
โดยในช่วงปีพุทธศักราช 2530 ที่วัดโสธรได้มีการสร้างพระอุโบสถ

ขึ้นใหม่ในตำแหน่งที่เคยเป็นพระอุโบสถ หลังเดิมการก่อสร้างได้แล้วเสร็จและเปิด
ใช้อย่างเป็นทางการประมาณปี 2549 ซึ่งความพิเศษของการก่อสร้างพระ
อุโบสถหลังใหม่คือไม่มีการย้ายหลวงพ่อ โสธรออกจากที่ตั้งเดิมผู้รับเหมาก่อสร้าง
จึงต้องจัดหักวัสดุมาปกป้องปิดคลุมองค์ หลวงพ่อโสธรในระหว่างการก่อสร้างพระ
อุโบสถและระหว่างนั้นไม่อนุญาตให้ประชาชน เข้าสักการะหลวงพ่อโสธรทางวัดโสธรจึงรับ
มือศรัทธามหาชนด้วยการจัดเตรียมพระวิหาร ชั่วคราวและนำหลวงพ่อโสธรจำลองมา
ประดิษฐานและให้ประชาชนผู้มีจิตศรัทธาได้ กราบไหว้โดยผ่านไปประมาณ 20 ปีพระอุโบสถ
หลังใหม่แล้วเสร็จเมื่อเปิดพระอุโบสถให้ ประชาชนนมัสการหลวงพ่อโสธรองค์จริงแต่
ประชาชนกลับนิยมไปกราบไหว้หลวงพ่อโสธร องค์จำลองมากกว่าซึ่งที่เป็นเช่นนี้ว่า
กันว่ามีที่มาจาก 2 สาเหตุคือประการแรก คือระเบียบของวัดในการเข้าสักการะหลวงพ่อ
โสธรองค์จริงที่มีข้อจำกัดการแสดงศรัทธา ด้วยข้อห้ามหลายประการไม่ว่าจะเป็นห้าม
จุดธูปห้ามปิดทององค์พระห้ามถวายไข่ต้ม แก้บ่นห้ามแก้บนในพระอุโบสถซึ่งทั้งหมด
นี้สามารถทำได้ที่พระวิหารชั่วคราวและ หลวงพ่อโสธรจำลองส่วนประการที่ 2 หลังจาก
พระอุโบสถสำเร็จกรมศิลปากรได้เข้ามาบูรณะ องค์หลวงพ่อโสธรองค์จริงในปี
2552 โดยการบูรณะใหญ่ครั้งนี้กรมศิลปากร ได้ลอกทองคำเปลวที่ปิดพระพักตร์มานานออก
ซึ่งอาจต่อเนื่องยาวนานหลายสิบหรือหลาย ร้อยปีจนทำทำให้พุทธลักษณะของหลวงพ่อโสธร
เปลี่ยนไปจากเมื่อแรกสร้างหลังการบูรณะ จึงห้ามปิดทองหลวงพ่อโสธรองค์จริงอีกโดย
ปัญหาที่ตามมาคือพุทธลักษณะดั้งเดิมที่ ถูกต้องกลับเป็นลักษณะที่ประชาชนผู้
ศรัทธากราบไหว้ไม่ขุนตาและลุกลามจนเป็น กระแสความไม่พอใจของคนจำนวนไม่น้อยจนมี
การโจมตีกรมศิลปากรว่าทำการบูรณะผิดพลาด ทำให้หน้าตาหลวงพ่อโสธรผิดเพี้ยนไปจาก
เดิมซึ่งแม้ว่าปัญหาดังกล่าวจะคลี่คลาย และยอมรับว่าการบูรณะของกรมศิลปากรนั้น
ไม่ได้ผิดพลาดแต่ก็มีผลกระทบกับภาพจำของ หลวงพ่อโสธรที่สืบทอดมาช้านานในรูปแบบ
ต่างๆไม่ว่าจะเป็นรูปถ่ายเหรียญที่ระลึก พระพิมพ์ที่ประชาชนเช่าบูชาไปที่ส่วนใหญ่
นั้นมีพุทธลักษณะตามแบบที่ถูกปกปิดด้วย ทองคำจำนวน
มาก y

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *