ไม่ใช่แค่ประเทศไทยที่ผู้คนให้ความสนใจ เรื่องพระเครื่องและเครื่องรางของขัง
ประเทศเพื่อนบ้านเราก็ให้ความสนใจอยู่ไม่ น้อยโดยเฉพาะประเทศจีนที่มีความสนใจมาก
เป็นพิเศษถึงขั้นระดมทุนบุกตลาดพระ เครื่องของเมืองไทยเลยทีเดียวคลิปนี้ได้
รวบรวม 5 พระเครื่องที่ทุนจีนให้ความสนใจ มาให้ได้รับชมกันครับ 1 พระสมเด็จวัด
ระฆังและท่านยังเป็นผู้สร้างพระพิมพ์ สมเด็จอันเรื่องชื่อผมจะสรุปช่วงเวลาของ
การสร้างพระพิมพ์สมเด็จและพระพุทธรูปที่ ท่านได้สร้างไว้ออกมาเป็น 5 ช่วงพอสรุป
ได้ดังนี้ครับช่วงที่ 1 ระหว่างปีพ.ศ 2361 ถึงพ.ศ
2385 ในช่วงของรัชกาลที่ 2 และ 3 สมเด็จ พระพุทธจารย์โตอายุประมาณ 30 -54 ปีถือ
เป็นช่วงที่ท่านเริ่มมีชื่อเสียงในด้าน การเทศน์ในช่วงปีพ.ศ 2363 – 2365 สมเด็จโตได้มีโอกาสร่ำเรียน
วิปัสสนากรรมฐานชั้นสูงรวมทั้งการออกแบบ และมวลสารในการสร้างพระพิมพ์กับสมเด็จพระ
สังฆราชสุขไก่เถื่อนช่วงที่ 2 พ.ศ 2385 ถึง
2393 ในช่วงของรัชกาลที่ 3 สมเด็จ พุทธาจารย์โตอายุ 54 -62 ปีหลังจากได้
กลับไปจัดงานศพให้โยมมารดาตอนอายุ 54 ปี จากนั้นท่านใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการ
ธุดงค์ทั้งทางเหนือลาวและเขมรรวมทั้งได้ สร้างพระพุทธรูปยืนปางอุ้มบาทที่วัดกลาง
คลองข่อยตำบลคลองข่อยอำเเภอโพธรามจังหวัด ราชบุรีประมาณปีพ.ศ 2390 และในช่วงเวลา
ใกล้กันได้สร้างพระใจดีนอนที่หลังโบสถ์ วัดละครธรรมตำบลบ้านช่างหล่อจังหวัด
ธนบุรีปัจจุบันได้หักพังไปหมดแล้วช่วงที่ 3 พ.ศ
2394 – 2407 ในช่วงต้นรัชกาลที่ 4 สมเด็จพระพุทธจารย์โตอายุ 63 -7 ปีเป็น
ช่วงเวลาที่ท่านได้รับตำแหน่งราชาคณะตั้ง แต่ที่พระธรรมกิตติพ.ศ
2395 พระเทพกวีพ.ศ 2397 และสมเด็จพระ พุทธาจารย์โตพ.ศ 2407 ในช่วงเวลานี้น่าจะ
มีการสร้างพระสมเด็จเนื่องในโอกาสฉลอง เลื่อนสมณศักดิ์ตามลำดับดังกล่าวนอกจาก
นั้นยังมีเหตุการณ์ทางด้านการเมืองเช่น การขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 4 ในปีพ.ศ
2394 และเหตุการณ์พระราชสมภพของรัชกาล ที่ 5 ในปีพ.ศ
2396 ต่อมาท่านได้สร้างพระนั่งโตที่วัด เกตไชโยจังหวัดอ่างทองในปีพ.ศ 2406 –
2407 รวมทั้งได้สร้างพระสมเด็จจำนวน 84,000 องค์มีพิมพ์ 5 ชั้น 6 ชั้น 7
ชั้นเป็นตต้นเพื่อบรรจุไว้ในกรุวัดดัง กล่าวช่วงนี้หลวงวิจาร์เจรนัยซึ่งเป็น
หนึ่งในช่างของกรมช่าง 10 หมู่เริ่มเข้า มามีบทบาทในการออกแบบพิมพ์พระสมเด็จและ สันนิษฐานได้ว่าน่าจะอยู่ภายใต้การกำกับ ดูแลของพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้า
ลดาวัลกรมหมื่น ภูมินทร์ช่าง 10 หมู่รวมทั้งมีความผูกพัน
กันกับเจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดีหรือ ท้วมบุญนาคเจ้ากมท่าและกลุ่มวังในการ
สร้างพระสมเด็จและพระต่างๆถวายแด่องค์ หลวงปู่โตเพื่ออธิษฐานจิตแล้วว่ากันว่า
เจ้าพระคุณสมเด็จพุทธาจารย์โตได้อัญเชิญ เหล็กไพรดำมาจากที่ใดที่หนึ่งด้วยวิธีใด
ก็ยังไม่แน่ชัดแต่ท่านก็ได้นำมาทำเป็น สร้อยปะคำเหล็กภยดำจำนวนหนึ่งสันนิฐานว่า
เศษจากการกลึงรูปคำได้นำไปเป็นส่วนผสมใน พระสมเด็จจำนวนมากโดยเฉพาะพระสมเด็จที่
สร้างโดยกลุ่มวังความรู้เรื่องเหล็กไหล ภัยดำนี้รับรู้เฉพาะในวงแคบของผู้ปฏิบัติ
ธรรมกลุ่มหนึ่งจึงจึงโปรดใช้วิจารณญาณ เพราะความจริงแท้ทั้งหมดยังมีข้อมูลไม่ เพียงพอช่วงที่ 4 พ.ศ 2408 จนถึง 2411 ใน ช่วงปายรัชกาลที่ 4 สมเด็จโตอายุ 77 -80
ปีในปีพ.ศ 2408 ได้มีการสร้างพระสมเด็จ เพื่อบรรจุกรุพระธาตุพนมจำลองในวัด
บวรสถานสุทธาวาสหรือวัดพระแก้ววังนามิใช่ ที่พระธาตุพนมจังหวัดนครพนมแต่อย่างใดและ
เหตุการณ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงสวรรคตในในปีพ.ศ 2408 ด้วยต่อ
มาในปีพ.ศ 2410 ท่านเริ่มสร้างพระยืนโต ที่วัดอินทรวิหารจึงน่าจะมีการจัดสร้าง
พระสมเด็จบรรจุในกุวัดอินทรวิหารด้วยขณะ เดียวกันท่านยังได้สร้างพระพุทธรูปปาง
มารวิชัยมีพระนามว่าพระพุทธมหามุนี ศรีมหาราชที่วัดกุฏิทองจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาอีกด้วยช่วงที่ 5 พ.ศ 2411 – 2415 ซึ่งถือเป็นช่วงสุดท้ายของ
สมเด็จโตต่อเนื่องจนกระทั่งมรณภาพดังจะ เห็นได้จากในช่วงต้นของรัชกาลที่ 5 โดย
เฉพาะปีพ.ศ 2411 มีการสร้างพระพิมพ์พระ บูชาและสิ่งมงคลต่างๆจำนวนมากเพื่อเป็น
การเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชสมบัติ พิธีพุทธาภิเษกและอธิษฐานจิตจึงเป็นวาระ อันยิ่งใหญ่ที่สุดตั้งแต่มีมาในกรุง
รัตนโกสินทร์ต่อมาในปีพ.ศ 2412 มีการ สร้างพระสมเด็จเบญจรงค์หรือเบญจสิริเพื่อ
เตรียมถวายรัชกาลที่ 5 ที่ได้ส่วนผสมหลัก มาจากประเทศจีนโดยเจ้าพระคุณกรมท่าหรือ
ท้วมบุญนาคซึ่งพระชุดนี้เรียกว่าสมเด็จ วังนาคต่อมาจึงได้นำไปบรรจุไว้ในกรุวัด
พระแก้วในภายหลังในช่วงปีพ.ศ 2413 เสมียร ตราด้วงได้มีการขอแม่พิมพ์จากสมเด็จโต
เพื่อสร้างพระสมเด็จจำนวน 84,000 องค์ เพื่อบรรจุลงในกรุเจดีย์ใหญ่วัด บางขุนพรหมแต่ได้สร้างและทำพิธีที่วัด อินทรวิหารในปีเดียวกันนี้เจ้าพคุณสมเด็จ
โตยังสร้างพระนอนวัดสตือจังหวัดอยุธยาจึง น่าจะมีการสร้างพระสมเด็จบรรจุในกรุนี้
ด้วยต่อมาในปีพ.ศ 2415 สมเด็จโตได้มรณภาพ ลงท่านเจ้าคุณพระธรรมถาวรได้นำพระสมเด็จ
ออกมาแจกในงานศพจำนวนมากมากกว่า 30,000 องค์และเป็นพระสมเด็จที่ได้รับการลงรัก
ปิดทองส่วนใหญ่และมีอีกบางส่วนจำนวนมากมี ผู้นำไปไว้ที่หอสมุทรมนต์และบนเพดาน
พระวิหารของวัดระฆังด้วยจากที่การสมเด็จ โตเป็นพระสงฆ์นักปฏิบัติได้รับความเคารพ
เลื่อมใสสั จึงทำให้พระเครื่องของท่านได้รับความนิยม อย่างมากในหมู่นักเลงพระเซียนพระต่างหา เช่ามาบูชาครอบครองเป็นเจ้าของกันเชื่อ
กันว่าผู้ใดได้ครอบครองจะมีบุญบารมีประสบ แต่โชคลาภปราศจากภัยอันตรายทั้งปวงและผู้
ครอบครองก็ต้องตั้งสติอยู่ในศีลธรรม ประพฤติตนเป็นคนดีละเว้นกรรมชั่วก่อนจบ
คลิปนี้ผมมีคำสอนบทหนึ่งซึ่งเชื่อกันว่า เป็นคำสอนของสมเด็จซึ่งเป็นที่นิยมนับถือ
กันโดยทั่วไปแต่ไม่มีการการอ้างอิงที่มา ที่อย่างชัดเจนนั่นก็คือลูกเอ๋ยก่อนที่จะ
เข้าไปขอบารมีหลวงพ่อองค์ใดเจ้าจะต้องมี ทุนของตัวเองคือบารมีของตนลงทุนไปก่อน
เมื่อบารมีของเจ้าไม่พอจึงค่อยขอยืมบารมี คนอื่นมาช่วยมิฉะนั้นเจ้าจะเอาตัวไม่รอด
เพะหนี้สินในบุญบารมีที่ไปเที่ยวเขายืมมา จนพ้นตัวเมื่อทำบุญทำกุศลได้บารมีมาก็จะ
ต้องเอาไปผ่อนใช้หนี้เขาจนหมดไม่มีอะไร เหลือติดตัวและเจ้าจะไม่มีอะไรไว้ในภพ
หน้ามันสร้างบารมีไว้แล้วฟ้าดินจะช่วยเอง จงจำไว้นะเมื่อยังไม่ถึงเวลาเทพเจ้าองค์
ใดจะคิดช่วยเจ้าไม่ได้ครั้นเมื่อถึงเวลา ทั่วฟ้าจบดินก็ต้านเจ้าไม่อยู่จงอย่าไป
เร่งเทวดาฟ้าดินเมื่อบุญเราไม่เคยสร้าง ไว้จะมีใครที่ไหนมาช่วย
เจ้า 2 พารอดลำพูนพารอดกรุวัดมหาวัน จังหวัดลำพูนถูกค้นพบขึ้นจากกรุองค์พระ
เจดีย์เก่าที่วัดมหาวันโดยเจดีย์นั้นได้ เสื่อมสภาพคังทลายตามอายุทำให้พระที่
บรรจุไว้แต่กกระจายรอบฐานองค์พระเจดีย์ปะ ปนในดินทรายซึ่งไม่มีใครสนใจเพราะมีความ
เชื่อกันว่าพระต้องอยู่กับวัดใครนำออกไป ก็จะเกิดสิ่งอัปมงคลต่อมาบรรดาพระเณรได้
ขนย้ายเศษปูนดินทรายไปโถมหลุมบ่อรอบ บริเวณวัดจึงมีองค์พระติดไปจำนวนมากจนมา
ถึงสมัยท่านเจ้าคุณญาณมงคลจึงได้อนุญาต ให้มีการขุดหาพระจนพื้นที่ในวัดเป็นหลุม
เป็นแอ่งเสียหายจึงห้ามขุดไปพักใหญ่และ ต่อมาก็ได้มีการขุดค้นกันต่อตามบันทึกของ
พระอธิการทาอดีตเจ้าอาวาสวัดพระคงฤาษีกับ อาจารย์บุญธรรมแห่งวัดพระธาตุหริกุญชัย
ว่าครั้งแรกเมื่อพ.ศ 2435 สมัยเจ้าหลวงพินธุไพจิตรที่เป็น
เจ้าเมืองลำพูนองค์พระเจดีย์มหาวันได้พัง ทลายลงมาจึงได้มีการปฏิสังขรและพบพระ
พิมพ์ไหลลงมาจำนวนมากแต่ได้นำบรรจุคืนไว้ ดังเดิมครั้งที่ 2 พ.ศ
2451 ในสมัยเจ้าหลวงอินทยงยศฐานองค์พระ เจดีย์ชำรุดอีกจึงปฏิสังขรและพบเจอพระ
จำนวนหนึ่งจึงได้นำพระแจกจ่ายค่าราชการ ประชาชนผู้มาร่วมงานไปจำนวนหนึ่งครั้งที่
3 พศ 2498 มีการค้นพบพระรอดจำนวนราว 300 องค์
ในบริเวณพื้นดินรอบกุฏิหน้าวัดและครั้ง ที่ 4 พ.ศ 2506 วัดได้ทำการรื้อพื้นพระ
อุโบสถพบพระรอดอีกราว 300 องค์จากนั้นก็ พบอีกหลายครั้งแต่ได้พระมาไม่มากจนหมดไป
จากวัดซึ่งตอนแรกๆได้แบ่งพิมพ์เป็นพิมพ์ ตื้นพิมพ์สั้นพิมพ์ยาวพิมพ์ฐาน 2 ชั้น
พิมพ์ฐานชั้นเดียวแต่พอได้ได้รับความนิยม มากขึ้นและเกิดสนามพระยุคแรกอาจารย์เชียน
ธีรสารนักนิยมพระยุคนั้นจึงแยกพิมพ์พรอด เป็นมาตรฐานตามเอกลักษณ์ที่แตกต่างซึ่ง
ได้รับความนิยมเรียงตามลำดับคือ 1 พิมพ์ ใหญ่หรือพิมพ์ก้นพับ 2 พิมพ์กลางหรือก้น
แมลงสาบ 3 พิมพ์เล็กก้นตัก 4 พิมพ์ต้อ หรือองคเตี้ย 5 พิมพ์ตื้นหรือผนังโพธิ์ต
เรื่องพุทธคุณนั้นก็สมตามชื่อครับเด่นทาง ด้านแคล้วคลาด 3 พระซุ้มกอจังหวัด
กำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าแก่ปรากฏชื่อใน ประวัติศาสตร์ชาติไทยมีฐานะเป็นเมืองลูก
หลวงของกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันอายุร่วมราว 700 ปีแล้วแต่เดิม
นั้นไม่ได้ชื่อกำแพงเพชรแต่มีชื่อมาก่อน หน้านั้นคือเมืองชากังราว
ชื่อนี้ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกพระกำแพง ซุ้มกจัดเป็นพระที่สุดยอดของเมือง
กำแพงเพชรเป็นพระที่อมตะด้วยทั้งพุทธศิลป และพุทธคุณถูกจัดอยู่ในชุดเบญจภาคีที่สูง
สุดของพระเครื่องเมืองไทยเป็นพระที่ทำจาก เนื้อดินผสมว่านและเกสรดอกไม้และทำจาก
เนื้อชินลักษณะของพระซุ้มกนั้นเป็นองค์ พระปฏิมากรรม
ในสมัยสุโขทัยนั่งสมาธิมีลายกนกอยู่ด้าน ข้างขององค์พระนั่งประทับอยู่บนบัวเล็บ
ช้างขอบของพิมพ์พระจะโค้งมนต์ลักษณะคล้าย ตัวกไก่คนเก่าๆจึงเรียกว่าพระซุ้มกพระ
ซุ้มกที่ค้นพบนั้นมีอยู่ด้วยกัน 5 พิมพ์ ประกอบด้วยพิมพ์ใหญ่แยกออกเป็น 2 ประเภท
คือมีลายกนกและไม่มีลายกนกกกพระที่ไม่มี ลายกนกส่วนใหญ่มักจะมีสีดำหรือสีน้ำตาล
แก่ซึ่งเรามักจะเรียกว่าพระกำแพงซุ้มกอดำ ส่วนพิมพ์กลางพิมพ์เล็กพิมพ์เล็กพัดโบก
พิมพ์ขนมเปี๊ยะมีทั้งลายกนกและไม่มีลาย กนกเป็นพระที่มีศิลปะของสุโขทัยปนกับ
ศิลปะศีลังกาโดยเฉพาะไม่มีลายกนกจะเห็น ว่าเป็นศิลปะศีลังกาอย่างเด่นชัดพระกำแพง
ซุ้มก้อเนื้อขององค์พระใช้ดินผสมกับว่าน เกสรดอกไม้จึงทำให้เนื้อของพระซุ้มกอมี
ลักษณะนุ่มมันละเอียดเมื่อนำสำลีหรือผ้า มาเช็ดถูจะเกิดลักษณะมันวาวขึ้นทันที
ลักษณะของเนื้อที่เด่นชัดอีกประการหนึ่ง คือตามผิวขององค์พระจะมีจุดสีแดงๆซึ่งเรา
เรียกว่าว่านดอกมะขามและตามซอกขององค์พระ จะมีจุดดำๆซึ่งเราเรียกว่าราดำซึ่งจับ
อยู่ตามบริเวณซอกของพระพระซุ้มกนั้นนอก จากเนื้อดินยังพบเนื้อชินและชนิดที่เป็น
เนื้อว่านล้วนๆก็มีแต่หาน้อยมากบริเวณที่ ถูกค้นพบนั้นจะอยู่ตามบริเวณวัดบรมธาตุ
วัดพิกุลวัดฤาษีและตลอดบริเวณลานทุ่ง เศรษฐีพระซุมกอที่ไม่มีลายกนกที่มีสีน้ำ
ตาลนั้นจัดเป็นพระที่หายากมากที่สุดเพราะ ส่วนใหญ่จะมีสีดำพุทธคุณนั้นไม่ต้องพูด
ถึงเพราะพระซุ้มกนั้นมิครบเครื่องไม่ว่า เรื่องเมตตามหานิยมแคล้วคลาดตลอดจนเรื่อง
โชคลาภจนมีคำพูดที่พูดติดปากกันมาว่ามีกู แล้วไม่จนประกอบกับพระกำแพงซุ้มกถูกจัด
อยู่ 1 ใน 5 ของชุดเบญจภาคีความต้องการ ของนักนิยมพระเครื่องจึงมีความต้องการสูง
เพราะทุกคนต้องการแต่พระกำแพงซุ้มกทั้ง นั้นราคาเช่าหาจึงแพงมากและหาได้ยากมาก
จึงจัดได้ว่าอยู่ในพระอมตะเป็นพระกุอัน ทรงคุณค่าที่ควร่าแก่การหาและอนุรักษ์
ประวัติความเป็นมาของพระซุ้มกนั้นมีตำนาน ปรากฏชัดเจนจากการพบจารึกบนแผ่นลานเงินใน
กรุเมื่อพอ 2392 สมเด็จพุทธจารย์โตแห่งวัดระฆังได้
ไปเยี่ยมญาติที่เมืองกำแพงเพชรได้พบศิลา จารึกที่วัดเสด็จจึงทราบว่ามีพระเจดีย์
ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปิงฝั่งเมืองนครชุม เก่าท่านจึงชักชวนเจ้าเมืองออกสำรวจก็พบ
เจดีย์ 3 องค์อยู่ใกล้ๆกันแต่ชำรุดมากจึง ได้ชักชวนเจ้าเมืองทำการรื้อพระเจดีย์
เก่าทั้ง 3 องค์รวมเป็นองค์เดียวกันเมื่อ รื้อถอนจึงพบพระเครื่องซุ้มกอจำนวนมาก
หลวงปู่จึงนำเข้ากรุงเทพฯส่วนหนึ่งพร้อม เศษอิฐหินและบันทึกใบลานได้ถูกนำมาสร้าง
เป็นพระสมเด็จของท่านจนขึ้นชื่อลือ กระฉ่อนพะสร้างตามสูตรการสร้างพระซุ้มก
ส่วนการสร้างเจดีย์ยังไม่ทันแล้วเสร็จ เจ้าเมืองก็ด่วนลาลับไปต่อมาพญาตะกาขุน
นางพม่าจึงปฏิสังขรต่อจนเสร็จจึงมีรูป ลักษณ์เป็นเจดีย์พม่าเป็นพระศิลปะสุโขทัย
ยุคต้นสร้างประมาณพ.ศ 1900 สมัย พยาไทยในบันทึกนั้นยังมีข้อมูลอีกว่า สร้างโดยฤาษี 11 ตนเป็นฤาษีเป็นใหญ่
3 ตน
ได้แก่ฤาษีพิราลัยตนหนึ่งฤาษีตาไฟตนหนึ่ง ฤาษีวัวตนหนึ่งเป็นประธานถูกขุดค้นพบหลาย
กุโดยครั้งแรกพบณวัดวัดพระบรมธาตุโดยหลวง ปู่โตต่อมาพ.ศ
2490 และ 2501 ก็พบอีกแต่ไม่มากปีพ.ศ 2505 และปีพ.ศ
2509 พบจากกรุวัดพิกุลทองวัดฤาษีวัด หนองลังกาและวัดซุ้มกตำหนิเอกลักษณ์และ
การสังเกตพระซุ้มกอนั้นพระเกตเป็นเกตปลี ปลายแหลมสอบเข้าพระเนตรีลอยอยู่ในเบ้าพระ
นาสิกเป็นแท่งแหลมพระโอษฐ์เล็กประกันโค้ง เป็นแบบหูบายสีเบาๆยอดองค์ใต้คอเป็นแอ่ง
กระทะเบาๆกนกข้างแขนขวาองค์พระเป็นเลข 6 ฝรั่งสังฆาติเป็นลำเล็กซอกแขนลึกชายจีวร
ยาวเข้าไปในซอกแขนพระหัตถ์ขวากระดกขึ้น เล็กน้อยมีกูไว้แล้วไม่จนคือถ้อยคำประจำ
องค์พระซุ้มกอกซึ่งหมายถึงพระซุ้มกสุดยอด ทางโชคลาภเมตตามหานิยมใครมีไว้แล้วจะร่ำ
รวยเป็นมหาเศรษฐีเจริญรุ่งเรืองซึ่งก็ เป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไปแต่ก็ไม่กี่คน
ที่จะได้ครอบครองเพราะการเช่าจะอยู่ที่ หลักล้านขึ้นไปพระซุ้มกจึงกลายเป็นหนึ่ง
ในเบญจภาคีหรือหนึ่งในจักรพรรดิแห่งวงการ พระเครื่อง 4 พระสมเด็จนางพยาพระนางพญา
กรุวัดนางพญาจังหวัดพิษณุโลกเป็นที่กล่าว ขานและต้องการของนักสะสมจำนวนมากพุทธคุณ
ของพระนางพญาเรียกได้ว่าครบทุกด้านทั้ง แค้วคาดเมตตาคงกพันมหาอุดจัดเป็นหนึ่งใน 5
ชุดเบญจภาคีก่อนที่จะไปฟังตำนานการจัด สร้างพระนางพญานั้นผมจะพูดถึงวัดนางพญา
ก่อนครับวัดนางพญานี้เป็นวัดเก่ากแก่ตั้ง แต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ติดกับวัด
พระ ศรีรัตนมหาธาตุและวัดราชบูรณะแต่เดิมวัด
นางพญาและวัดราชบูรณะมีอาณาเขตติดต่อกัน แต่พอมีการสร้างสะพานสมเด็จพระนเลสวรและ
สร้างถนนตัดผ่านจึงแยกวัดนางพยาและวัด ราชบูรณะอยู่กันคนละฝั่งถนนวัดนางพญาจึง
เหลืออาณาเขตเล็กๆเท่านั้นการได้ชื่อว่า วัดนางพญาน่าจะมาจากสถานที่ที่ค้นพบนั่น
เองวัดนางพญานี้สันนิษฐานว่าผู้สร้างพระ นางพญาคือพระวิสุทกสัตตรีพระมเหสีของพระ
มหาธรรมราชาและทรงเป็นพระราชมารดาของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระองค์ทรงสร้างพระ
นางพญาขึ้นในคราวบูรณปฏิสังขรวัดราชบูรณะ ราวปีพ.ศ 2090 ถึงพ.ศ
2100 ขณะนั้นพิษณุโลกเป็นเมืองลูกหลวง และพระองค์ดำรงพระอิสริยศเป็นแม่เมือง
สองแควและพระ มหาธรรมราชาทรงเป็นพระอุปราชแห่งแผ่นดิน
มหาจักรพรรดิกรุงศรีอยุธยาพระนางพญาอายุ การสร้างประมาณ 400 ปีได้รับอิทธิพลทาง
พุทธศิลปะมาจากสกุลช่างสุโขทัยในพระ ราชสำนักโดยตรงด้วยเมืองพิษณุโลกและ
สุโขทัยมีความใกล้ชิดกันมาตั้งแต่ราชวงศ์ พระร่วมซึ่งเป็นใหญ่ในดินแดนภาคเหนือเป็น
พระพุทธปติมากรรมแบบนูนต่ำในรูปทรงสาม เหลี่ยมประทับนั่งปางมารวิชัยไม่มีอาสนะ
หรือฐานรองรับสวดทรงองค์เอวอ่อนหวานและดู สง่างามการแตกกุของพระเครื่องนางพญาเกิด
ขึ้นเมื่อปีพ.ศ 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้ทรงเสด็จประภาส เมืองพิษณุโลกเพื่อทรงทอดพระเนตรการหล่อ
พระพุทธชินราชราจำลองและทรงได้เสด็จ ประภาสวัดนางพญาด้วยสันนิษฐานว่าทางวัดก็
คงพัฒนาปรับปรุงเคหสถานเพื่อเตรียมรับ เสด็จพระพุทธเจ้าหลวงและสร้างศาลาที่
ประทับไว้ครั้นพอขุดจะลงเสาก็ได้พบพระนาง พญาจำนวนมากฝังจมดินอยู่กับซากปรักหักพัง
จึงได้เก็บรวบรวมไว้และมีการคัดเลือกพระ องค์ที่งดงามขึ้นทูลเกล้าถวายและถวาย
ราชวงศ์ใหญ่น้อยตลอดจนแจกจ่ายค่า ราชบริพารที่เสด็จไปด้วยพระนางพญาเป็นพระ
เนื้อดินผสมว่านและเกสรดอกไม้มีส่วนของ แรกกวดทรายผสมผสานคุกเคล้าไปด้วยเมื่อกด
เป็นองค์พระแล้วเสร็จจึงนำไปเผาพระส่วน ใหญ่จะมีเนื้อผสมว่านน้อยหรืออาจจะไม่มี
เนื้อพระจึงดูค่อนข้างหยาบแก่งและแข็งมาก ที่เป็นเนื้อละเอียดจะผสมว่านมากทำให้
เนื้อพระนุ่มสวยงามก็มีแต่พบเห็นน้อยผู้ รู้ได้จำแนกพิมพ์ทรงได้ทั้งหมด 3 พิมพ์
คือพิมพ์ใหญ่พิมพ์กลางพิมพ์เล็กโดยแบ่ง ปีกย่อยได้ดังนี้พิมพ์ใหญ่จะมี 3 แบบคือ 1
พิมพ์เข่าโค้ง 2 พิมพ์เข่าตรงแบ่งย่อยออก เป็น 2 พิมพ์คือพิมพ์เข่าตรงธรรมดาและ
พิมพ์เข่าตรงมือตกเข่า 3 พิมพ์อกนูนใหญ่ พิมพ์กลางจะมี 1 แบบคือพิมพ์สังฆาติพิมพ์
เล็กจะมี 2 แบบ คือพิมพ์อกนูนเล็กและพิมพ์อกแฟบหรือพิมพ์
เทวดาจะมีอีกพิมพ์หนึ่งที่เป็นพิมพ์พิเศษ เช่นพิมพ์เข่าบ่วงหรือพิมพ์ใหญ่พิเศษส่วน
พิมพ์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดก็จะเป็น พิมพ์เข่าโค้งส่วนพิมพ์ที่นิยมรองลงมาก็
จะเป็นพิมพ์เข่าตรงส่วนรายละเอียดการดู ว่าแท้ไม่แท้นั้นลองไปศึกษากันดูนะครับ
และมีคำถามอีกว่าทำไมพระสมเด็จเด็จนางพญา จึงไปปรากฏตามกุอื่นๆด้วยสันนิษฐานว่าใน
ปีพ.ศ 2470 พระอธิการถนอมเป็นเจ้าอาวาสในขณะ
นั้นองค์พระเจดีย์ด้านทิศตะวันออกของวัด ได้เกิดพังทลายลงก็ปรากฏพบพระนางพญาอีก
จำนวนหนึ่งแต่ปรากฏว่าชาวเมืองพิษณุโลก ไม่ได้ให้ความสนใจเลยดังนั้นพระนางพญาที่
พบจึงถูกเก็บไว้ในวัดนางพยะ และบางส่วนอาจถูกนำไปบรรจุยังกรุอื่นๆดัง
นั้นประวัติความเป็นมาของพระนางพญาจึง เป็นเหตุสำคัญในการอ้างอิงถึงการพบพระนาง
พญาในกุอื่นๆรวมถึงทั้ง กรุงเทพมหานครก็มีการพบที่กู่วัดอินทาราม
วัดเลียบสันนิษฐานว่าเป็นพระที่ได้มา เมื่อปีพ.ศ
2444 และนำมาบรรจุกุในใจดียตามวัดต่างๆ จะมีอยู่มากน้อย
ไม่สามารถระบุได้แต่เมื่อผ่านกาลเวลาไป สภาพองค์พระในแต่ละสถานที่ก็ย่อมแตกต่าง
กันไปตามสภาพกุที่บรรจุเสน่ห์ของพระ เครื่องโบราณอยู่ที่พื้นฐานประวัติและยุค
สมัยซึ่งราคาของพระสมเด็จนางพญาใน ปัจจุบันมีการเช่าหาแลกเปลี่ยนนับว่าสูง
มากราคาหลักแสนถึงหลักล้านเป็นพระเครื่อง ที่สุดยอดปรารถนาของนักนิยมพระเครื่องผู้
ใดได้ครอบครองเป็นเจ้าของเชื่อว่าผู้นั้น เปี่ยมด้วยวาสนาบารมีมีความเชื่อกันว่า
พระสมเด็จวัดระฆังมี 5 รังสีหมายความว่า มีพุทธคุณขังครอบจักรวาลส่วนพระนางพญามี 3
รังสีคือคงกพันลาภผลและเสน่ห์มหานิยมใน ความเชื่อด้านเสน่ห์ถ้ามีพระนางพญาก็อย่า
ให้ภรรยาเพราะไม่ช้าก็จะเสียภรรยาไป 5 พระผงสุพรรณพระผงสุพรรณเป็นหนึ่งในพระ
ชุดเบญจภาคีสุดยอดพระเครื่องของเมืองไทย ที่เป็นที่ไฟฟันและเสาะแสวงหาเป็นพระกุ
เก่าแก่ศิลปยุคอู่ทองเนื้อดินเผาแต่ทำไม จึงเรียกว่าผงสุพรรณหมูลเหตุสืบเนื่องจาก
ดินที่เป็นมวลสารหลักเป็นดินเนื้อละเอียด เมื่อผสมน้ำว่านยาต่างๆจึงมีความละเอียด
มากขึ้นลักษณะคล้ายผงถูกพบครั้งแรกเมื่อ ปีพ.ศ
2456 ที่พระปางประธานวัดพระ ศรีรัตนมหาธาตุจังหวัดสุพรรณบุรีโดยนาย
พินชาวบ้านแถวนั้นได้เล่าว่าสมัยนั้นตน ยังเป็นเด็กลูกวัดอยู่ได้มีพระธุดงค์รูป
หนึ่งมาถามแกว่าวัดพระธาตุไปทางไหนนายพิณ ก็ชี้บอกทางให้ครั้งภายหลังนายนายพิณจึง
มาทราบว่าพระธุดงค์รูปนั้นได้ลายแทง สมบัติมาจึงเดินทางมาขุดหาสมบัติของที่
ได้ไปคือพระอบทองคำและไม่ได้นำอะไรไปจาก กุเลยแต่ชาวจีนที่พระธุดงค์จ้างมาขุดนั้น
กลับได้พระเครื่องต่างๆไปอาทิเช่นพระผง สุพรรณพระกำแพงศอกเป็นต้นแล้วนำมาออกเร่
ขายความทราบถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง จึงรีบไปจัดการอุดช่องที่เจาะพระปางนั้น
เพราะเดี๋ยวจะมีชาวบ้านแห่มาขุดอีกหลวง บริบาลบุรีพันธ์นักโบราณคดีให้ความเห็น
ว่าพระปางที่บรรจุพระผงสุพรรณสร้างในสมัย ต้นกรุงศรีอยุธยาพิจารณาจากองค์พระปางและ
จารึกลานทองซึ่งมีคำแปลต่อไปนี้พระราชา ผู้ยิ่งใหญ่กว่าพระราชาทั้งหลายในอโยธยา
ทรงพระนามว่าพระมหาจักรพรรดิโปรดให้สร้าง สถูปองค์นี้ขึ้นไว้แต่พระสถูปของพระองค์
ชำรุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลาพระราชโอรสของ พระองค์ผู้เป็นพระราชาเหนือพระราชาโปรด
ให้ปฏิสังขรให้กลับคืนดีหลวงบริบาล บริบูรณ์พันธ์สันนิษฐานว่าพระมหากษัตริย์
ทั้งสองคู่นี้น่าจะเป็นพระนครินทราที่ิ เราชกับเจ้าสามพญาผู้ซ่อมหรือไม่ก็เป็น
เจ้าสามพญาผู้สร้างกับพระบรมไตรโลกนาถผู้ ซ่อมในปีเดียวกันทางราชการนำโดยสมเด็จกรม
พญาดำรงราชานุภาพเสาะหาที่ตั้งของเจดีย์ ยุทธหัสถีครานั้นพญาสุนทรบุระ
เมืองสุพรรณบุรีในขณะนั้นได้พบเจอพระปาง ปรากฏว่ามีแผ่นจารึกลานทองบางส่วนที่ถูก
ขโมยไปและได้คืนมาบ้างนอกจากนี้ยังได้มี การถวายพระผงสุพรรณรวมทั้งพระในกรุแด่
รัชกาลที่ 6 ซึ่งพระองค์ทรงแจกบางส่วนแก่ ข้าราชบริพารผู้ติดตามพระผงสุพรรณจึงอยู่
ในมือตระกูลราชการเก่าๆส่วนเนื้อหาใจความ ในแผ่นจารึกลานทองนั้นได้กล่าวถึงตำนาน
การสร้างพระผงสุพรรณว่าศุภมัสดุ 1265 สิทธิการิยะแสดงบาตรไว้ให้รู้ว่ามี
ฤาษีพิราลัยเป็นประธานเราจะทำด้วยฤทธิ์ทำ เครื่องประดิษฐ์มีสุวรรณเป็นต้นคือพระบรม
กษัตริย์พระศรีธรรมาโศกราชเป็นผู้ศรัทธา ฤาษีทั้ง 4 ตนจึงพร้อมใจกันนำเอาแร่ว่าน
ทั้งหลายอันมีฤทธิ์กับแร่ต่างๆครั้นได้ แล้วพระฤาษีจึงอัญเชิญเทพยดาเข้ามาช่วย
กันทำพิธีเป็นพระพิมพ์สถานหนึ่งดำสถาน หนึ่งแดงได้เอาว่านทั้งผงปั้นพิมพ์ด้วย
ลายมือพระมหาเถระปิยะทัศนิตศรีสารีบุตร คือเป็นใหญ่เป็นประธานในที่นั้นได้เอาแร่
ต่างๆขัดยาสำเร็จแล้วให้นามว่าแร่ สังฆวานรได้หล่อเป็นพิมพ์ต่างๆมีอานุภาพ
ต่างๆกันไปเสกด้วยมนต์คาถาครบ 3 เดือน แล้วเอาไปประดิษฐานไว้ในสถูปใหญ่แห่ง
เมืองพันทูมถ้าผู้ใดได้พบพระตามที่กล่าว มานี้พระว่านก็ดีพระเกสรก็ดีทำด้วยแร่
สังขวานรก็ดีให้รีบเอาไปสักการะบูชาเป็น ของวิเศษนักแลความหมายก็คือได้กล่าวถึง
ประเภทของพระผงสุพรรณไว้ 2 ชนิดอันได้แก่ พระเนื้อดินที่มีส่วนผสมจากว่านและเกสร
ต่างๆโดยเป็นพระเนื้อดินเผาตามกรรมวิธี การสร้างพระพิมพ์สมัยโบราณสีของพระผง
สุพรรณจึงเป็นสถานหนึ่งดำสถานหนึ่งแดงและ อีกชนิดหนึ่งก็คือพระผงสุพรรณที่ทำจากแร่
ธาตุโลหะซึ่งเรียกตามจารึกว่าแร่สังขวานร ซึ่งหมายถึงพระผงสุพรรณเนื้อชินที่รู้จัก
กันในชื่อพระผงสุพรรณยอดโถนั่นเองแต่ที่ เป็นพระยอดนิยมจะเป็นพระเนื้อดินเผาซึ่ง
เป็นดินของจังหวัดสุพรรณที่ค่อนข้าง ละเอียดแล้วนำมาผ่านการกรองหมักและนวด
อย่างพิถีพิถันผสมกับดและเกสรดอกไม้มงคล โดยการนำหัวว่านมาคั้นเอาแต่น้ำมาผสม
เรียกว่าแก่ว่านดังนั้นเมื่อผ่านกรรมวิธี การเผาผิวขององค์พระจึงไม่เป็นโพงจากการ
ย่อยสลายของเนื้อว่านและเนื้อจะดูชุ่มฉ่ำ ไม่แข็งกระด้างวงการพระเรียกว่าหนึกนุ่ม
ซึ้งจัดอันเป็นลักษณะพิเศษที่ต่างจาก เนื้อดินทั่วไปอีกทั้งกรรมวิธีการเผามี
การควบคุมอุณหภูมิความร้อนให้อย่างสม่ำ เสมอทำให้เนื้อขององค์พระมีสภาพแข็งแกร่ง
ไม่เปาะหักง่ายเหมือนพระเนื้อดินเผาอื่นๆ แต่สีสันก็ยังคงเป็นเช่นเดียวกันคือมี
ตั้งแต่สีแดงสีน้ำเงินเข้มสีเทาไปจนถึงสี ดำแต่ลักษณะการตัดขอบจะไม่มีรูปแบบที่แน่
นอนบางองค์เป็นสี่เหลี่ยม 4 ด้านบ้าง 5 ด้านบ้างบางองค์ตัดเฉพาะด้านซ้ายขวาและ
ล่างแล้วปล่อยด้านบนไว้ลักษณะพิเศษอีก ประการหนึ่งคือในขั้นตอนการสร้างจะใช้
วิธีใส่เนื้อมวลสารลงในแม่พิมพ์แล้วยัง ใช้นิ้วหัวแม่มือกดด้านหลังให้แน่นโดยพระ
มหารสีด้านหลังขององค์พระจึงปรากฏเป็นรอย นิ้วมือของคนโบราณมีลักษณะใหญ่กว่าลาย
นิ้วมือของคนปัจจุบันและมีเส้นลายนิ้วมือ เป็นแบบก้นหอยพระผงสุพรเป็นพระขนาดเล็กมี
ความกว้างประมาณ 2.1 ซมสูงประมาณ 3.2 ซม พุทธลักษณะขององค์พระเป็นพระประธานประทับ
นั่งแสดงปางมารวิชัยบนฐานเขียงชั้นเดียว มีส่วนผสมของผงว่านและเกสรดอกไม้เดิมที
ชาวบ้านจึงมักเรียกกันว่าพระเกสรสุพรรณ หรือพระผงสุพรรณและติดปากมาจนถึงปัจจุบัน
นี้การจำแนกพิมพ์และการเรียกชื่อนั้นจึง เหมือนพระพุทธรูปสมัยศิลปะอู่ทองจุดตำหนิ
แม่พิมพ์หน้าแก่นั้นเอกลักษณ์เฉพาะอยู่ ที่พระพลักจะมีความเหี่ยวย่นคล้ายคนชรา
ซึ่งเป็นที่มาของชื่อพิมพ์นอกจากนี้ยังมี ตำหนิสำคัญคือพระเนตรด้านซ้ายขององค์พระ
จะยารีและลึกปลายตวัดสูงกว่าพระเนตรด้าน ขวาขององค์พระพระนาสิกหนาใหญ่ทั้งสองข้าง
มีร่องลึกลงมารับพระโอษฐซึ่งย้เล็กน้อย พกรข้างขวาขององค์พระขมวดคล้ายมุ่นมวยผม
ไรพระศกทอดยาวลงมามากกว่าพกรด้านซ้ายของ องค์พระขอบพกรทางด้านขวาขององค์พระด้านใน
จะเว้าลึกเป็นต้นพิมพ์หน้ากลางเอกลักษณ์ เฉพาะอยู่ที่พระพักต์ดูอิ่มเอิบสดใสไม่
เหี่ยวย่นแบบคนที่ไม่สูงวัยมากจุดตำหนิ สำคัญคือพเนตทั้งสองข้างไม่จมลึกเท่า
พิมพ์หน้าแก่ปลายพระเนตรทางด้านซ้ายของ องค์พระตวัดเฉียงขึ้นเล็กน้อยถ้าหาก
พิจารณาให้ดีจะเห็นได้ว่ารูปพระพักตร์ ระหว่างพระเนตรทั้งสองข้างวางได้ระดับ
เท่ากันไม่เอียงเหมือนพิมพ์หน้าแก่ขอพกร ด้านขวาขององค์พระจะเว้าลึกอย่างเห็นได้
ชัดเป็นต้นมาถึงพิมพ์สุดท้ายพิมพ์หน้า หนุ่มเอกลักษณ์เฉพาะอยู่ที่พระพักต์ที่แล
ดูอ่อนเยาวสดใสและเรียวเล็กเล็กกว่าพิมพ์ อื่นๆอย่างชัดเจนสมัยโบราณเรียกว่าพิมพ์
หน้าหนูองค์พระมีความลึกและความคมชัดมาก เป็นพิเศษและมีความหนามากกว่าพิมพ์อื่นๆ
จึงสันนิษฐานกันว่าการถอดแบบออกจากพิมพ์ น่าจะค่อนข้างยากกว่าทำให้องค์พระที่พพมี
สภาพสมบูรณ์น้อยมากจุดสังเกตตำหนิสำคัญ ดังนี้พเนตทั้งสองข้างอยู่ในระนาบเดียว
กันปลายพเนตรซ้ายขององค์พระยกเฉียงขึ้น เล็กน้อยพระนาสิกใหญ่ตั้งเป็นสันริมพระ
โอษฐหนาพระกัณณ์ทั้งสองตั้งขึ้นเป็นสั่น แนบชิดกับพระพักตร์และยาวลงมาเกือบจลดพระ
อังสาซึ่งแตกต่างกับพิมพ์หน้าแก่และพิมพ์ หน้ากลางขอบพกรด้านขวาในจะเว้าลึกและชัด
เจนนอกจากนี้เนื่องจากพระผงสุพรรณเป็นพระ ที่บรรจุในกรุและผ่านกาลเวลามายาวนานจึง
ปรากฏคาบดินกรุติดอยู่ทั่วบริเวณองค์พระ และตามซอกต่างๆเรียกว่านวลดินโดยเฉพาะพระ
ที่ไม่ผ่านการใช้งานจะปรากฏชัดเจนคราบนวล ดินนี้จะเกาะติดแน่นแทบกลืนเป็นเนื้อ
เดียวกับผิวขององค์พระนับเป็นเอกลักษณ์ สำคัญอีกประการหนึ่งมีเรื่องเล่าอภินิหาร
เรื่องหนึ่งสมัยก่อนโน้นชาวเมืองสุพรรณ นิยมกีฬาชนควายพนันกันเอาเงินเอาทองและ
เล่นกันมากประจวบกับในระหว่างนั้นพระผง สุพรรณนั้นมีมากและไม่มีค่าเหมือนเช่น
ปัจจุบันนี้จึงได้นำเอาพระผงสุพรรณองค์ ที่แตกหักไปป่นให้ละเอียดผสมคุกกับหญ้า
ให้ควายกินแล้วนำควายไปชนกันปรากฏว่าควาย ที่กินเศษผงพระสุพรรณเข้าไปขวิดได้ดีมาก
และที่สำคัญหนังเหนียวอีกด้วยเป็นที่น่า อัศจรรย์ยิ่งนักวิธีการอาราธนาการใช้งาน
ให้เอาพระผงสุพรรณส่งน้ำหอมนั่งบริกรรม พุทธคุณธรรมคุณสังฆคุณ 108 จบสวดผาหุง 3
จบให้เก็บน้ำหอมไว้ใช้ได้เสมอและถ้าหากจะ ให้เพิ่มความขังให้ท่องคาถาด้วยเวลาท่อง
คาถาให้กั้นลมหายใจให้เป็นสมาธิเพื่อ เพิ่มความขังยิ่งขึ้น