ตะลึงพญาครุฑฉบับช่างฝีมือเขมรโบราณต้นฉบับพญาครุฑ ยึดเหนี่ยวจิตใจชาวเขมรสร้างความสง่าเหมือนวัดดังไทย

มีการแชร์มากมายในสื่อโซเชียลนะคะว่านี่ คือรูปปั้นครุฑที่ว่ากันว่าเป็นฝีมือของ
ช่างชาวเขมรโดยมีหลายคนเข้ามาวิเคราะห์ ค่ะว่างานนี้ไม่ละเอียดเลยปีกสั้นขนาดนี้
จะบินได้มไม่มีความสมส่วนพยายามจะทำให้ เหมือนไทยแต่ฝีมือนั้นคงไม่ได้ปั้นได้แค่
นี้กลับตื่นเต้นกันทั้งประเทศขายาวแต่ว่า ปีกสั้นนึกได้แบบเดียวนี่กระหังหรือเปล่า
เนี่ยอย่ามาคิดเลยจะชื่นชมอะไรเป็นไปไม่ ได้อย่างแน่นอนฝีมือแค่นี้ทำไมยังกล้านำ
เสนอออกสื่ออีกนี่แหละนะฝีมือช่างเขมรคง จะเป็นคนละสายพันธุ์กับประเทศไทยนี่ไม่
ใช่งานปั้นแล้วน่าจะแกะๆเอาแล้วก็เอามา แปะกันให้เป็นลายความสมดุลนั้นไม่มีเลยฝี

มือแบบนี้ดูตลกๆพิกลนะแนะนำให้ไปแบกปูนดี กว่าสงสัยจะมีความพยายามมากพยายามจะไม่
ให้สับกับต้นฉบับแต่ดูยังไงก็ดูออกดู เหมือนไม่รู้อะไรเลยปั้นไปปั้นมาจากครุฑ
คงจะจะกลายเป็นกายแก้วแล้วบ้างก็ว่าเป็น คมนสารัสหรืออาจจะเป็นครุฑเขมรปางแบกข้าว
สารเป็นงานศิลปะเขมรที่ล้ำลึกมากๆน่าจะมี ชิ้นเดียวในโลกทั่วโลกนั้นไม่มีใครยอมรับ
กันสงสัยต้องรองอีก 1,000 ปีกว่าครุฑจะโต เต็มที่บ้างก็แสดงความคิดเห็นนะคะว่านี่
คือคาเมนไรเดอร์ทำได้แค่นี้อย่ามาพูดเลย ว่าเป็นต้นตำรับว่ากันว่าครุฑเขมรนั้น

ศิลปะจริงๆครุฑจะเป็นตัวป้อมๆสั้นๆแต่ว่า แปลกของดีๆมีคนเขมรกลับไม่ยอมอนุรักษ์มา
ชอบศิลปะไทยสถาปัตยกรรมไทยอยากเป็นไทยแต่ กลับทอดทิ้งศิลปะเขมรโดยอันที่จริงแล้ว
สถาปัตยกรรมเขมรก็สวยงามยกตัวอย่างในภาค อีสานใต้ของไทยในจังหวัดบุรีรัมย์
สุรินทร์ศรีสะเกษก็สามารถพัฒนาศิลปะเขมร ให้สวยงามและดูสวยงามอลังการได้แต่ทำไม
ชาวกัมพูชาถึงมาชอบศิลปะไทยและไม่ยอมกลับ ไปพัฒนาศิลปะตัวเองให้ทันสมัยแบบภาคอีสาน
ใต้ของไทยก็ไม่รู้โดยมีผู้วิเคราะห์แสดง ความคิดเห็นนะคะว่าจริงๆแล้วที่เขมรก็มี
ของดีเยอะมากแต่กลับคิดต่อยอดไม่เป็นเสีย ดายแล้วก็เสียของหากทุกอย่างนั้นเป็นของ
ไทยคงจะประดิษฐ์ประดอยต่อยอดอะไรได้เยอะ แยะไปหมดบางคนก็ให้ความเห็นว่าของไทยสวย
เขมรก็เลยอยากได้ไปหมดภาครัฐภาคเอกชนก็ ไม่สนับสนุนเขมรก็เลยไม่รู้จะทำยังไงบาง

คนก็แสดงความคิดเห็นว่าขอบคุณกัมพูชาที่ นำครุฑไทยที่สวยที่สุดในเอเชียตะวันออก
เชียงเงใต้ไปเผยแพร่แทนครุฑกัมพูชาที่ดู แล้วยังไงชอบกลไม่สวยเลยจะใช้ก็ขอกันดีๆ
ก็ได้หากรู้จักคำว่ามารยาทดีพอแล้วก็เลิก ขโมยของเพื่อนบ้านไปใช้ซักทีเคยตกเป็นของ
สยามวัฒนธรรมไทยก็เลยมีอิทธิพลล่ะสิก็เลย มีคนมาเฉลยนะคะบอกว่าอันที่จริงแล้วไม่
ยากเลยเขมรนั้นไม่เคยมีศิลปะนครวัดเป็น ศิลปะของค้อมเพราะฉะนั้นเขมรจะไม่มี
วัฒนธรรมอะไรเลยซึ่งครุฑเป็นหนึ่งในสัตว์ หิมพาพสัตว์ในจินตนาการของอินเดียโบราณ
แต่ในขณะเดียวกันครุก็ถูกนำมาใช้เป็นตรา แผ่นดินไทยมาช้านานโดยแวดวงศิลปะไทยครุฑ
เป็นที่นิยมของบรรดาศิลปินหลากหลายแขนง ทั้งงานประติมากรรมจิตกรรมที่ศิลปินแต่ละ
คนต่างก็ถ่ายทอดรูปร่างท่าทางและ จินตนาการเกี่ยวกับครุฑเอาไว้แตกต่างกัน

มากมายแม้แต่ในวรรณกรรมคลาสสิกกากีก็มี เรื่องครุฑลงไปผสมผสานโดยเรื่องราวของ
ครุฑนั้นมีเรื่องเล่าขานอยู่หลายตำนานและ พบเจอในหลายประเทศเช่นอินเดียไทยชวาและ
กัมพูชาส่งผ่านอิทธิพลของศาสนาโดยในศาสนา พราหมณ์ฮินดูเชื่อว่าครุฑคือพาหนะของพระ
นารายณ์ด้านพุทธศาสนาเชื่อว่าครุฑคือ ครึ่งนกครึ่งคนมีถิ่นที่อยู่อาศัยในป่า
หิมพานต์บริเวณวิมานฉิมพลีเชิงข่าวพระ สุเมรคอยจับหน้ากินเป็นอาหารถ้าสังเกตให้
ดีในภาพจิตกรรมป่าหิมพานส่วนส่วนใหญ่จะพบ ว่าพญานาคมักถูกวาดอยู่ชายขอบล่างของป่า
หิมพานเพื่อหลบลี้จากพญาครุฑอยู่เสมอโดย ตามคติไทยโบราณครุฑเป็นสัตว์วิเศษมีหัว
ปีกเล็บและปากงุ้มเป็นขอมนกอินทรีย์ส่วน ตัวและแขนเป็นคนมีสีทองใบหน้าขาวปีกแดง
หางแผ่ทางก้นเหมือนนกเครื่องประดับประจำ ตัวมีทองกรสวมแขนกำไลข้อมือกำไลข้อเท้า
สวมชฎาทรงมงกุฎน้ำเต้าสวมสายส้อยนุ่งผ้า ชายเฟือยมีห้อยหน้าและตราบประจำแผ่นดิน
รูปครุฑนั้นมีใช้มาตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยาตามจดหมายเหตุของลาลูแบร์

อัครราชทูตฝรั่งเศสที่เข้ามากรุง ศรีอยุธยาในสมัยพระนารายณ์มหาราชได้
บันทึกเอาไว้ว่าแม้สมัยนั้นไม่มีตำแหน่ง เจ้ากรมราชลัญจกรแต่พระมหากษัตริย์ก็ทรง
มตราประจำพระองค์แล้วสันนิษฐานว่าน่าจะ ใช้ตราครุฑผ้าตามคติสมุติเทพในยุคนั้นที่
ถือว่ากษัตริย์เทียบเท่าพระนารายณ์ลงมาปก ครองบ้านเมืองโดยมีครุฑเป็นพาหนะซึ่งครุฑ
ผ้านี้มีการใช้มาจนถึงแผ่นดินกรุงธนบุรี ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ก็ยังมีการใช้ครุฑ
เป็นตราพระราชลัญจกรอย่างต่อเนื่องมีหลัก ฐานชัดเจนว่ารัชกาลที่ 2 ก็ทรงใช้ตราครุฑ
เพราะพระนามเดิมว่าฉิมมาจากชิมพลีแปลว่า ต้นงิ้วที่ตั้งของวิมานครุฑหรือก็คือ
วิมานฉิมพลีส่วนสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าให้เจ้าฟ้ากรบพยานริสรานุวัติ

ทรงเขียนครุฑถวายใหม่โดยตัดนาออกไปเพราะ ทำให้ครุฑดูตะกละตะกลามเต็มทีไปไหนก็ต้อง
หิ้วอาหารไปด้วยส่วนมือที่กลางก็เปลี่ยน มารำตามครุฑขอมเปลี่ยนลายกนกเป็นเปลวไฟ
เพราะกนกเป็นพืชไม่เหมาะกับสัตว์ที่มี อิทธิฤทธ์เดินอากาศถัดมาในสมัยรัชกาลที่ 6
ทรงใช้ครุฑแบบเดิมแล้วเพิ่มพระปรมาภิไทย ตามขอบพระราชลัญจกรเป็นแบบอย่างมาจนถึง
ปัจจุบันโดยมีงานศิลปะที่สะท้อนคติเรื่อง ครุฑในสังคมสมัยอยุธยาหลากหลายรูปแบบทั้ง
งานสถาปัตยกรรมประติมากรรมจิตกรรมรวมถึง ประณีตศิลป์ซึ่งนอกจากครุฑที่เป็น
สัญลักษณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับพระ มหากษัตริย์แล้วยังมีครุฑตามความเชื่อทาง

พุทธศาสนาด้วยการนำรูปครุฑมาตกแต่ง ศาสนสถานเพื่อสื่อความหมายว่าครุฑคือผู้
พิทักษ์ศาสนสถานอย่างสืบทอดต่อมางาน สถาปัตยกรรมจึงปรากฏรูปคุฑอยู่หลายส่วน
เช่นครุฑปูนปั้นประดับเจดีย์ทรงปรางที่ ชั้นเชิงบาทครุฑแบกพระมหาธาตุเจดีย์วัด
ราชบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยาครุฑที่ หน้าบานอุโบสถวิหารมีทั้งงานจำหลักไม้งาน
ปูนปั้นทำรูปพระนารายณ์ทรงครุฑหรือรูป ครุฑอย่างเดียวก็มีเช่นพระนารายณ์ทรงครุฑ
หน้าบรจำหลักไม้วัดแม่นางปลื้มจังหวัด พระนครศรีอยุธยาครุฑปูนปั้นหน้าบานอุโบสถ
วัดขาบันไดอิฐจังหวัดเพชรบุรี พระนารายณ์ทรงครุฑปูนปั้นหน้าบ้านอุโบสถ

วัดไผ่ล้อมจังหวัดเพชรบุรีครุฑแปกปูนปั้น ประดับฐานเสมาวัดสระบัวจังหวัดเพชรบุรี
ส่วนครุฑในงานจิตกรรมมักพบอยู่ในภาพเทพ ชุมชนเช่นครุปชุมชนจิตกรรมฝาผนังอุโบสถ
วัดเกาะจังหวัดเพชรบุรีครุฑในภาพเทพชุมชน จิตกรรมฝาผนังอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณารามใน
จังหวัดเพชรบุรีส่วนครุฑประดับเครื่องใช้ ในพระพุทธศาสนาอาทิครุฑประดับธรรมาสน์ที่
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรวิหารจังหวัด พิษณุโลกครุฑในตู้พระธรรมลายรดน้ำหีบพระ
ธรรมเช่นพญาครุฑบนบานประตูตู้พระธรรมฝี มือช่างครูวัดเชิงหวายครุฑในงาน
ประณีตศิลป์เช่นครุฑทองคำประดับพระปราง จำลองครุฑทองคำเหยียบนาคโดยพบในกลุพับ
ปรางวัดราชบูรณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น
ต้น

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *