หนึ่งในเครื่องดนตรีไทยที่ใช้ในประเพณี และวัฒนธรรมไทยอย่างหลากหลายนั่นก็คือ
กลองยาวนะคะแม้แต่กิจกรรมต่างๆวัน สงกรานต์ก็จะต้องมีกลองยาวอยู่ในขบวนแห่
เสมอโดยได้มีการเปิดเผยคลิปวิดีโอนะคะการ ซ้อมตีกลองยาวเพื่อเฉลิมฉลองเทศกาลศิลปะ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเป็นชาวต่าง ชาติซ้อมตีกลองยาวสำหรับการแสดง Asian
American coalition of Chicago ที่ ชุมชนชาวไทยนั้นเป็นเจ้าภาพโดยส่วนใหญ่
ศิลปะและวัฒนธรรมที่ใช้กลองยาวก็คือการรำ กลองยาวบางคนก็เรียกว่าการเล่นเถิดเทิง
โดยมีผู้สันนิษฐานว่าเป็นของพม่าที่นิยม เล่นกันมาก่อนเมื่อครั้งพม่ามาทำสงคราม
กับไทยในสมัยกรุงธนบุรีหรือสมัยต้นกรุง รัตนโกสินทร์เวลาพักรบทหารพม่ามักจะเล่น
สนุกสนานต่างๆโดยบางคนก็เล่นกลองยาวเมื่อ คนไทยเห็นก็เลยจำมาเล่นและยังมีเพลงดนตรี
เพลงหนึ่งซึ่งดนตรีไทยนำมาใช้บรรเลงมี ทำนองเป็นเพลงพม่าเรียกกันมาแต่เดิมว่า
เพลงพม่ากลองยาวต่อมาได้มีผู้ปรับเป็น เพลงระบำกำหนดให้ผู้รำแต่งตัวใส่เสื้อ
นุ่งสร่งตาศีรษะโพกผ้าสีชมพูหรืออาจจะ เป็นสีอื่นๆบ้างตามแต่จะให้สีสลับกันเห็น
สวยแบบระบำมือถือขวานออกมาร่ายรำเข้ากับ จังหวะเพลงจึงเรียกเพลงนี้ว่าเพลงพม่ารำ
ขวานและมีอีกอีกความหนึงกล่าวกันว่าการ เล่นเทิงบ้องกลองยาวเพิ่งจะมีเข้ามาใน
เมืองไทยเมื่อสมัยรัชกาลที่ 4 กรุง รัตนโกสินทร์คือมีพม่าพวกหนึ่งนำเข้ามาใน
รัชกาลนั้นโดยมีบทร้องกลาวรำยกทัพพม่าใน การแสดงละครเรื่องพระอไพมนีตอน 9 ทัพซึ่ง
นิยมเล่นกันมาแต่ก่อนสังเกตดูก็เป็นตำนาน แล้วร้องกันว่าทุงเลทีนี้จะเหตพม่าใหม่ตก
มาเมืองไทยมาเป็นผู้ใหญ่ตีกลองยาวตีว่อง ตีไวตีได้จังหวะกะจะเป็นเพลงกราวเรื่อง
ชื่อลือเช้าตีกลองยาวสลัดใดเมื่อชาวไทย เห็นเป็นการและเล่นที่สนุกสนานและเล่นได้
ง่ายก็เลยนิยมเล่นกันแพร่หลายไปแทบทุกหัว บ้านหัวเมืองสืบมาจนตรับทุกวันนี้โดยกลอง
ยาวที่เล่นกันในวงหนึ่งก็จะมีกันหลายลูก มีสายสะพายเฉวียงบากของผู้ตีลักษณะรูป
ร่างของกล่องยาวจะขึงหนังด้านเดียวอีก ข้างหนึ่งจะเป็นหางยาวบานปลายเหมือนกับ
กลองยาวของชาวเชียงใหม่แต่กลองยาวของชาว เชียงใหม่จะเป็นกลองยาวจริงๆคือยาวประมาณ
2 วาส่วนกลองยาวอย่างที่เล่นกันนี้ยาว เพียงประมาณ 3 ศอกเท่านั้นซึ่งสั้นกว่า
ของเชียงใหม่ทางภาคอีสานจะเรียกกลองยาว นี้ว่ากลองหางโดยกลองยาวของพม่าจะเรียก
ว่าโอสิมีลักษณะคล้ายคลึงกับของชาวไทย อาหมในแคว้นอัดซ้ำยกเว้นแต่ของชาวไทยอาหม
จะมีรูปร่างคล้ายตโพนคือหัวท้ายเล็กกลาง ป่องใบเล็กกว่าตะโพนขึ้นหนังทั้ง 2 ข้าง
ผูกสายสะพายตีได้ตามที่เห็นวิธีเล่นทั้ง กล่องยาวของพม่าและกล่องของชาวไทยอาหมดู
วิธีการเล่นจะเป็นแบบเดียวกันอาจเลียนแบบ การเล่นไปจากกันก็ได้เมื่อรัฐบาลไทยมอบ
ให้คณะนาฏศิลป์ของกรมศิลปากรไปแสดงเพื่อ เชื่อมสัมพันธ์ไมตรีณนครย่างกุ้งและ
มันดาเลระหว่างเดือนมีนาคมและเมษายน พุทธศักราช 2509 ทางรัฐบาลพม่าได้จัดนัก
โบราณคดีพม่าผู้หนึเป็นผู้นำชม
พิพิธพันธ์ยาวซึ่งได้กล่าวว่าพม่าได้กลอง ยาวมาจากไทยใหญ่อีกต่อนึงโดยการและเล่ม
ประเภทนี้เรียกว่าเถิดเทิงเทิงบ้องคงจะ เรียกตามเสียงกลองยาวคือเมื่อเสียงเริ่ม
ตีเป็นจังหวะหูคนไทยจะได้ยินว่าเป็นเถิด เทิงบ้องเทิงบ้องก็เลยเรียกตามเสียงที่
ได้ยินว่าเถิดเทิงหรือเทิงบ้องกลองยาว เพื่อให้ต่างกับการละเล่นอย่างอื่นโดย
ลักษณะการแสดงนั้นสมัยก่อนก่อนการละเล่น จะมีการทำพิธีไหว้ครูมีดอกไม้ธูปเทียน
เหล้าขาวบุหรี่และเงินค่ายกครู 12 บาทการ ไหว้ครูใช้การขับเสภาเมื่อไหว้ครูแล้วก็
จะโหกขึ้นสามลาแล้วจึงเริ่มแสดงนักดนตรี ประกอบเริ่มบรรเลงผู้ร่ายรำก็จะเดินและ
ร่ายรำไปตามจังหวะกลองมีท่าร่ายรำทั้งหมด 33 ท่าซึ่งท่าที่หวาเสียวและตื่นเต้นมาก
ที่สุดเป็นท่าที่ 30-31 คือท่าที่มีการต่อกรองขึ้นไป 3 ใบ
ให้ผู้แสดงคนหนึขึ้นไปยืนบนกลองใบที่ 3 แล้วควงกลองและคาบกลองซึ่งผู้แสดงต้องใช้
ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวผู้ตีกลองยาวบาง พวกก็ตี6กหัวกันและปลินปลิ้นตากรอกหน้า
ยักษ์คียยักคอไปพลางถ้าปู้ตีคนใดคนนึงตี ได้จนถึงกับทองหน้ากลองด้วยศอกโขกด้วยคาง
กระทุงด้วยเข่าโหม่งด้วยเข่าโหม่งด้วยหัว เล่นเอาผู้ตีคลุกฝุ่นคลุกดินขมุกขะมอมไป
ทั้งตัวสุดแต่จะให้เสียงกล่องยาวดังขึ้น ก็จะเป็นที่สนุกสนานมากและนิยมกันว่าผู้
ตีกล่องยาวเก่งมากผู้เล่นก็จะภูมิใจนอก จากนั้นคนรำก็จะแต่งตัวต่างๆสุดแต่สมัคร
ใจคนดูก็จะรู้สึกสนุกสนานและสามารถเข้าไป ร่วมรำด้วยก็ได้เพราะเป็นการและเล่นอย่าง
ชาวบ้านใครจะสมัครร่วมเล่นร่วมรำวงก็ สามารถทำได้บางคนก็แต่งตัวพิสดารผัดหน้า
ทาตัวด้วยแป้งด้วยเขม่าดินหม้อทาตาเนื้อ ตัวดำดางทำให้คนดูรู้สึกทึ่งและขบคั้นออก
มารำเข้ากับจังหวะเทิงบ้องแต่ที่แต่งตัว งามๆเล่นและรำกันแบบเรียบๆน่าดูก็มีที่
ปรับปรุงโดยศิลปินของกรมศิลปากรซึ่งมีผู้ นำแบบอย่างไปเล่นแพร่ลายอยู่ในสมัยนี้
เพราะฉะนั้นการเล่นเป็นส่วนของวัฒนธรรม ที่แสดงออกมาจะเป็นวัฒนธรรมในระดับใดก็
แล้วแต่แต่สถานที่และโอกาสเหมาะสมกับถิ่น หนึแต่ไม่เหมาะสมกับอีกถิ่นหนึ่งก็ได้ถ้า
ปรับให้มีลักษณะเหมือนกันตลอดทุกถิ่นก็จะ ไม่เป็นความเจริญในทางวัฒนธรรมโดยความ
เจริญของวัฒนธรรมอยู่ที่แปลกๆต่างๆกันว่า แต่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในส่วนรวมและ
รู้จักดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะกับความเป็น อยู่ของแต่ละท้องถิ่นตามกาละสมัยแต่ไม่
ทำลายลักษณะอันเป็นเอกเทศของแต่ละถิ่นให้ สูญไปเปรียบเหมือนเป็นคนไทยด้วยกันโดย
ประเพณีเล่นเถิดเทิงหรือเทิงบ้องกลองยาว ในเมืองไทยมักนิยมเล่นกันในงานตรุษงาน
สงกรานต์หรือในงานแห่ที่ต้องเดินเคลื่อน ขบวนไม่ว่าจะเป็นงานแห่นาคแห่พระแห่กฐิน
แห่งานแต่งงานพอเคลื่อนไปกับขบวนพอถึงที่ ตรงไหนเห็นว่ามีลานกว้างหรือเป็นที่เหมาะ
ก็จะหยุดตั้งวงเล่นรำกันพักแล้วก็เคลื่อน ขบวนต่อไปแล้วมาหยุดตั้งวงเล่นและรำกัน
ใหม่โดยการเล่นเถิดเทิงของกรมศิลปากรปรับ ปรุงใหม่จะแต่งตัวแบบไทยๆแต่ยังเป็น
ประเพณีดั้งเดิมคือยังใช้โพกหัวด้วยผ้า แพรบางๆตามแบบพม่านอกจากนี้ก็เพิ่มผู้รำ
ฝ่าหญิงแต่งตัวงดงามแบบหญิงไทยกำหนดแบบ แผนลีลาท่ารำโดยกำหนดให้มีกลองรำและกลอง
ยืนโดยกลองรำนั้นหมายถึงผู้ที่จะแสดงลวด ลายในการตีบทพลิกแพล่งต่างๆเช่นถองหน้า
กลองด้วยศอกกระทุงด้วยเข่าส่วนกลองยืน หมายถึงผู้ตีกลองยืนให้จังหวะการแสดง
ดำเนินไปอย่างเรียบร้อยในขณะที่กองรำวาด ลวดลายรำต้อนนังรำอยู่ไปมาโดยการเล่นเถิด
เทิงแบบนี้มีมาตรฐานตายตัวผู้เล่นทั้งหมด จะต้องได้รับการฝึกฝนมาก่อนจึงจะแสดงได้
เป็นระเบียบและน่าดูคนดูก็จะเห็นความงาม และสนุกสนานแม้จะไม่ได้ร่วมบงเล่นด้วยก็
ตามซึ่งในการแต่งกายนั้นปัจจุบันกรม ศิลปากรปรับปรุงการแต่งกายที่กำหนดเอาไว้
เป็นแบบฉบับโดยผู้ชายจะนุ่งกางเกงขายาว ครึ่งแข้งสวมเสื้อคอกลมแขนสั้นเหนือศอกมี
ผ้าพวกศีรษะและพาดคาดเอวส่วนผู้หญิงจะ นุ่งผ้าซิ้นที่มีเชิงยาวกรอมเท้าสวมเสื้อ
แข่งกระบอกคอปิดผ่าอกหน้าห่มสไบทับเสื้อ สวมสร้อยตัวคาดเข็มขัดทับนอกเสื้อสร้อยคอ
และต่างหูปล่อยผมทัดดอกไม้ข้างซ้ายโดย เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการเล่นกลองยาว
มักจะมีเครื่องประกอบจังหวะเช่นฉิงฉาบ กลับโหม่งโดยมีประมาณ 4 คนคนตีกลองยืน 2
คนคนตีกลองรำ 2 คนและหญิงที่รำอีก 2 คน ส่วนการแสดงนั้นหากแสดงบนเวทีจะมีเป็นชุด
ประมาณ 10 คนหรืออย่างน้อยจะมีผู้บรรเลง ดนตรี 4 คนคนตีกล่องยืน 2 คนคนตีกล่องรำ 2
คนและผู้หญิงรำอีก 2 [เพลง]
[ปรบมือ] คน